Page 16 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเลย
P. 16

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                                9






                       ตารางที่ 3  (ต่อ)

                                                                     เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร่)
                          อำเภอ        ประเภทพื้นที่
                                                          S1         S2        S3         N        รวม

                                                            1,305    297,228    79,742   112,203    490,478
                                  พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                         (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)
                                  พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ   158    75,988    32,290      5,954    114,390
                         วังสะพุง
                                  เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง)   (12.11%)   (25.57%)   (40.49%)   (5.31%)   (23.32%)
                                                            1,147   221,240         -         -    222,387
                                  พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ
                                                          (87.89%)   (74.43%)       -         -   (45.34%)
                                                                -     3,185     72,550    38,135    113,870
                                  พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                                -   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)
                                  พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ     -      317      5,949       147      6,413
                         หนองหิน
                                  เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง)      -    (9.95%)   (8.20%)   (0.39%)    (5.63%)
                                                                -     2,868         -         -      2,868
                                  พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ
                                                                -   (90.05%)        -         -    (2.52%)
                                                                -    142,232    27,238    17,084    186,554
                                  พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                                -   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)
                                  พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ     -    32,253      655       3,665    36,573
                         เอราวัณ
                                  เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง)      -   (22.68%)   (2.40%)   (21.45%)   (19.60%)
                                                                -   109,979         -         -    109,979
                                  พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ
                                                                -   (77.32%)        -         -   (58.95%)
                                                            3,096   1,147,633   870,677   730,627   2,752,033
                                  พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                        (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)
                         รวมทั้ง  พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ   298   292,409   168,671    68,920    530,298
                         จังหวัด  เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง)   (9.63%)  (25.48%)   (19.37%)   (9.43%)   (19.27%)
                                                            2,798   855,225         -         -    858,023
                                  พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ
                                                         (90.37%)  (74.52%)         -         -   (31.18%)

                             ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
                       ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืช

                       ตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ำก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
                             เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่า พื้นที่ที่ควร
                       พิจารณาให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกยางพารา คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปลูกข้าว (S3+N) 154,734 ไร่

                       และพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (S3+N) 8,931 ไร่ (ตารางที่ 4)
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21