Page 21 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเลย
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                               14






                       ตารางที่ 5  (ต่อ)

                                                                     เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร่)
                          อำเภอ        ประเภทพื้นที่
                                                          S1         S2        S3         N        รวม

                                                              98     317,641    64,204   108,436    490,379
                                  พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                         (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)
                                  พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ    -     92,363    19,305       436     112,104
                         วังสะพุง
                                  เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง)     -   (29.08%)   (30.07%)   (0.40%)   (22.86%)
                                                              98    225,278        -          -    225,376
                                  พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ
                                                         (100.00%)   (70.92%)      -          -   (45.96%)
                                                               -     65,519     15,862    32,436    113,817
                                  พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                               -   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)
                                  พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ    -     39,948     8,631      468      49,047
                         หนองหิน
                                  เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง)     -   (60.97%)   (54.41%)   (1.44%)   (43.09%)
                                                               -     25,571        -         -      25,571
                                  พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ
                                                               -   (39.03%)        -         -    (22.47%)
                                                               -    127,191     31,471    27,517    186,179
                                  พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                               -   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)
                                  พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ    -     62,552    12,463      497      75,512
                         เอราวัณ
                                  เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง)     -   (49.18%)   (39.60%)   (1.81%)   (40.56%)
                                                               -     64,639        -         -      64,639
                                  พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ
                                                               -   (50.82%)        -         -    (34.72%)
                                                           1,040   1,358,752   598,601   793,077   2,751,470
                                  พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                        (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)
                         รวมทั้ง  พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ   22    318,983    96,698     3,999    419,702
                         จังหวัด  เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง)   (2.12%)   (23.48%)   (16.15%)   (0.50%)   (15.25%)
                                                           1,018  1,039,769        -         -   1,040,787
                                  พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ
                                                         (97.88%)   (76.52%)       -         -    (37.83%)
                       หมายเหตุ: n.s. คือ มีจำนวนน้อยมาก ไม่มีความสำคัญทางสถิติ

                             ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ

                       ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืช
                       ตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ำก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
                             เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่า พื้นที่ที่ควร

                       พิจารณาให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกอ้อยโรงงาน คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปลูกข้าว (S3+N) 138,678 ไร่
                       และพื้นที่ปลูกยางพารา (S3) 44,413 ไร่ (ตารางที่ 6)
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26