Page 16 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดมุกดาหาร
P. 16

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                9








                         2.2  อ้อยโรงงาน
                             อ้อยโรงงานเป็นพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัดมุกดาหารในล าดับที่ 2 จากฐานข้อมูลใน
                       แผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online วิเคราะห์ข้อมูลได้ดังนี้ (ตารางที่ 5 และภาพที่ 8 - 9)

                             1) การวิเคราะห์ศักยภาพของพื นที่ปลูกอ้อยโรงงาน
                               ระดับที่ 1 เป็นพื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 15,216 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 1.06 ของพื้นที่

                       ศักยภาพของที่ดิน พบมากอยู่ในอ าเภอหว้านใหญ่ 6,441 ไร่ อ าเภอดงหลวง 6,394 ไร่ และอ าเภอ
                       นิคมค าสร้อย 1,316 ไร่
                               ระดับที่ 2 เป็นพื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 995,121 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 69.47
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากอยู่ในอ าเภอเมืองมุกดาหาร 363,057 ไร่ อ าเภอดอนตาล

                       195,734 ไร่ และอ าเภอนิคมค าสร้อย 149,434 ไร่
                               ระดับที่ 3 เป็นพื้นที่เหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 10,917 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.76
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากอยู่ในอ าเภอเมืองมุกดาหาร 5,246 ไร่ อ าเภอดงหลวง 3,501 ไร่
                       และอ าเภอดอนตาล 966 ไร่

                               ระดับที่ 4 เป็นพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 411,331 ไร่

                             2) การวิเคราะห์พื นที่ปลูกอ้อยโรงงานในปัจจุบัน ซึ่งจ าแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน
                       ได้ดังนี้
                               (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 1,375 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 9.04 ของพื้นที่ศักยภาพสูง

                       พบมากอยู่ในอ าเภอหว้านใหญ่ 988 ไร่ อ าเภอดงหลวง 158 ไร่ อ าเภอนิคมค าสร้อย 128 ไร่ และ
                       อ าเภอเมืองมุกดาหาร 101 ไร่ ตามล าดับ
                               (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 233,403 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 23.45 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง พบมากอยู่ในอ าเภอเมืองมุกดาหาร 108,601 ไร่ อ าเภอดอนตาล 66,166 ไร่ และ
                       อ าเภอนิคมค าสร้อย 30,602 ไร่

                               (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 6,069 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 55.59 ของพื้นที่
                       ศักยภาพเล็กน้อย พบมากอยู่ในอ าเภอเมืองมุกดาหาร 4,022 ไร่ อ าเภอดอนตาล 966 ไร่ และอ าเภอ
                       นิคมค าสร้อย 588 ไร่

                               (4) พื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 34 ไร่

                             3) พื นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกอ้อยโรงงานแต่ยังไม่มี
                       การปลูก พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินส าหรับปลูกอ้อยโรงงาน และพื้นที่เพาะปลูก
                       อ้อยโรงงานในชั้นความเหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) พบว่า จังหวัดมุกดาหารมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือใน
                       ระดับความเหมาะสมสูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 775,559 ไร่ โดยกระจาย

                       อยู่ทั่วทุกอ าเภอ อ าเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ได้แก่ อ าเภอมุกดาหาร 255,368 ไร่
                       รองลงมา ได้แก่ อ าเภอดงหลวง 134,447 ไร่ อ าเภอดอนตาล 129,568 ไร่ อ าเภอนิคมค าสร้อย
                       120,020 ไร่ ตามล าดับ โดยมีรายละเอียดดังนี้
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21