Page 17 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุทัยธานี
P. 17

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               10







                           2.2  ออยโรงงาน
                       ออยโรงงานพืชเศรษฐกิจหลักของอุทัยธานีในลำดับที่ 2 จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ

                       Agri-Map Online สามารถวิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 5 และภาพที่ 8 - 9)
                               1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกออยโรงงาน

                                     ระดับที่ 1 เปนพื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 8,279 ไร คิดเปนรอยละ 0.42 ของ
                       พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอำเภอลานสัก 4,161 ไร อำเภอทัพทัน 2,341 ไร และ

                       อำเภอหนองฉาง 1,777 ไร

                                     ระดับที่ 2 เปนพื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 858,906  ไร คิดเปนรอยละ
                       43.17 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอำเภอบานไร 264,836 ไร อำเภอลานสัก

                       256,436 ไร และอำเภอสวางอารมณ 111,205 ไร
                                     ระดับที่ 3 เปนพื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 371,771 ไร คิดเปนรอยละ 18.69

                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอำเภอบานไร 231,820 ไร อำเภอสวางอารมณ 30,649 ไร
                       และอำเภอหนองขาหยาง 27,185 ไร

                                     ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 750,432 ไร

                                    2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกออยโรงงานในปจจุบัน ซึ่งจำแนกตามชั้นความเหมาะสม
                       ของที่ดิน ไดดังนี้

                                     (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 1,533 ไร คิดเปนรอยละ 18.52 ของพื้นที่ศักยภาพ
                       สูง กระจายตัวมากอยูในอำเภอลานสัก 1,235 ไร อำเภอหนองฉาง 163 ไร และอำเภอทัพทัน 135 ไร

                                     (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 391,977 ไร คิดเปนรอยละ 45.64 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอำเภอบานไร 169,159 ไร อำเภอลานสัก 92,305 ไร และอำเภอ

                       หวยคต 55,146 ไร

                                     (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 172,877 ไร คิดเปนรอยละ 46.50 ของพื้นที่
                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายอยูในอำเภอบานไร 147,424 ไร อำเภอหนองฉาง 8,583 ไร และอำเภอหวย

                       สวางอารมณ 5,137 ไร

                                     (4) พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 1,012 ไร
                                    3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกออยโรงงานแตไมใชพื้นที่ปลูก

                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสำหรับการปลูกออยโรงงาน และพื้นที่ปลูกออยโรงงาน

                       ในชั้นความเหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดอุทัยธานีมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความ
                       เหมาะสมสูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 473,675 ไร กระจายอยูในอำเภอตาง ๆ

                       โดยอำเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อำเภอลานสัก 167,057 ไร อำเภอบานไร 95,677 ไร
                       และอำเภอสวางอารมณ 72,086 ไร โดยมีรายละเอียดดังนี้
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22