Page 15 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุทัยธานี
P. 15

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                8







                       ตารางที่ 3 (ตอ)

                                                                     เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร)
                         อำเภอ        ประเภทพื้นที่
                                                          S1        S2         S3        N         รวม

                                                           64,398    33,889      5,721    39,202    143,210
                                 พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                         (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)
                          เมือง  พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ   55,594   23,302     5,721     1,382    86,000
                        อุทัยธานี  เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)   (86.33%)   (68.76%)   (100%)   (3.53%)   (60.05%)

                                                            8,804    10,587                         19,391
                                 พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ                            -         -
                                                          (13.67%)   (31.24%)                      (13.54%)
                                                            1,901     1,114      4,844   113,626    121,485
                                 พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                         (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)
                                 พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ   1,297     184       4,844       23      6,348
                         หวยคต
                                 เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)   (68.23%)   (16.52%)   (100%)   (0.20%)   (5.23%)
                                                             604       930                           1,534
                                 พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ                            -         -
                                                          (31.77%)   (83.48%)                       (1.26%)
                                                           53,834    15,567      9,059    26,281    104,740
                                 พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                         (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)
                        หนองขา พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ   47,141    13,738      9,028      981     70,888
                          หยาง   เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)   (87.57%)   (88.25%)   (99.66%)   (3.66%)   (67.68%)

                                                            6,693     1,829                          8,522
                                 พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ                            -         -
                                                          (12.43%)   (11.75%)                       (8.14%)
                                                          339,155   310,244    91,225   1,248,922   1,989,546
                                 พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                        (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)

                         รวมทั้ง  พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ   287,890   189,956   91,194   19,210   588,250
                         จังหวัด   เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)   (84.88%)   (61.23%)   (99.97%)   (1.54%)   (29.57%)
                                                        51,265    120,288                        171,553
                                 พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ                        -         -
                                                        (15.12%)   (38.77%)                       (8.62%)

                                   ทั้งนี้ ในการสงเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ

                       ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เทานั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูก

                       พืชตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ำก็สามารถเพิ่มผลผลิตได จึงควรสงเสริมในพื้นที่ดังกลาว
                                   เมื่อวิเคราะหขอมูลศักยภาพพื้นที่รวมกับพื้นที่ปลูกพืชในปจจุบัน พบวาพื้นที่ที่ควร

                       สงเสริมใหมีการปรับเปลี่ยนไปปลูกขาว คือ คือบริเวณที่ปลูกออยโรงงาน (S3) 13,358 ไร พื้นที่ปลูก

                       ขาวโพดเลี้ยงสัตว (N) 5,560 ไร และพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง (S3) 8,350 ไร แตเนื่องจากนโยบายของ
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20