Page 12 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุทัยธานี
P. 12

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                5







                           ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีขอจำกัดการของดินและน้ำ สงผลใหการผลิต
                       พืชใหผลตอบแทนต่ำ การใชพื้นที่ตองใชตนทุนสูงในการจัดการ และมีความเสี่ยงจากน้ำทวมและขาดน้ำ

                           ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N)
                             จังหวัดอุทัยธานี มีพื้นที่พืชเศรษฐกิจสำคัญที่ปลูกมาก 4 ลำดับแรก ไดแก ขาว ออยโรงงาน

                       มันสำปะหลัง และขาวโพดเลี้ยงสัตว ตามลำดับ (ตารางที่ 2)


                       ตารางที่ 2  พื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจที่มีพื้นที่ปลูกมาก 4 ลำดับแรกของจังหวัดอุทัยธานี


                                พืชเศรษฐกิจ                  เนื้อที่ (ไร)     รอยละของพื้นที่เกษตรกรรม
                             1. ขาว                          588,250                     34.00

                             2. ออยโรงงาน                    567,421                     32.79

                             3. มันสำปะหลัง                   220,693                     12.75
                             4. ขาวโพดเลี้ยงสัตว             88,261                      5.10

                       ที่มา: https://agri-map-online.moac.go.th, 2564

                         2.1  ขาว

                                ขาวเปนพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัดอุทัยธานี จากสภาพพื้นที่สวนใหญเปนที่ราบลุม

                       มีความเหมาะสมในการปลูกขาว จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online
                       วิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 3 และภาพที่ 6 - 7)


                               1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกขาว
                                     ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 339,155 ไร คิดเปนรอยละ 17.05

                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอำเภอหนองฉาง 113,686 ไร อำเภอเมืองอุทัยธานี

                       64,398 ไร และอำเภอหนองขาหยาง 53,834 ไร
                                     ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 310,244  ไร คิดเปน

                       รอยละ 15.59 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอำเภอสวางอารมณ 78,696 ไร
                       อำเภอทัพทัน 74,956 ไร) และอำเภอลานสัก 50,029 ไร

                                     ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 91,225 ไร คิดเปนรอยละ
                       4.59 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอำเภอสวางอารมณ 21,650 ไร อำเภอทัพทัน

                       18,358 ไร และอำเภอหนองฉาง 15,641 ไร

                                     ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 1,248,922 ไร
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17