Page 13 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุทัยธานี
P. 13
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
6
2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกขาวในปจจุบัน ซึ่งจำแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน ไดดังนี้
(1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 287,890 ไร คิดเปนรอยละ 84.88 ของพื้นที่
ศักยภาพสูงกระจายตัวมากอยูในอำเภอหนองฉาง 92,092 ไร อำเภอเมืองอุทัยธานี 55,594 ไร และ
อำเภอหนองขาหยาง 47,141 ไร
(2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 189,956 ไร คิดเปนรอยละ 61.23 ของ
พื้นที่ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอำเภอสวางอารมณ 62,494 ไร อำเภอทัพทัน 56,604
ไร และอำเภอเมืองอุทัยธานี 23,302 ไร
(3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 91,194 ไร คิดเปนรอยละ 99.97 ของพื้นที่
ศักยภาพเล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอำเภอสวางอารมณ 21,650 ไร อำเภอทัพทัน 18,358 ไร และ
อำเภอหนองฉาง 15,641 ไร
(4) พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 19,210 ไร
3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกขาวแตยังไมใชพื้นที่
ปลูก พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสำหรับการปลูกขาว และพื้นที่ปลูกขาวในชั้นความเหมาะสม
ตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดอุทัยธานีมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง (S1) และ
ความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 171,553 ไร กระจายอยูทั่วทุกอำเภอ โดยอำเภอที่มีพื้นที่
ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อำเภอหนองฉาง 41,021 ไร รองลงมา อำเภอลานสัก 34,898 ไร
และอำเภอทัพทัน 23,430 ไร ตามลำดับ โดยมีรายละเอียดดังนี้
(1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 51,265 ไร คิดเปนรอยละ 15.12 ของ
พื้นที่ศักยภาพสูง พบมากในอำเภอหนองฉาง 21,594 ไร เมืองอุทัยธานี 8,804 ไร อำเภอหนองขาหยาง
6,693 ไร
(2) พื้นที่เหมาะสมปานกลางคงเหลือ (S2) มีเนื้อที่ 120,288 ไร คิดเปนรอยละ 38.77
ของพื้นที่ศักยภาพปานกลาง พบมากในอำเภอลานสัก 34,134 ไร อำเภอหนองฉาง 19,427 ไร อำเภอ
บานไร 18,827 ไร