Page 11 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุทัยธานี
P. 11

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                4







                         1.6  พื้นที่ชลประทาน
                             จังหวัดอุทัยธานี มีเนื้อที่ชลประทาน 231,459 ไร (รอยละ 5.50 ของพื้นที่จังหวัด) กระจายอยู

                       ใน 7 อำเภอ มีอางเก็บน้ำที่สำคัญ 2 อาง มีศักยภาพในการเก็บกักน้ำไดรวม 203.41 ลานลูกบาศกเมตร
                       (ตารางผนวกที่ 2 - 3 )


                         1.7  เขตปฏิรูปที่ดิน
                             เขตปฏิรูปที่ดินในพื้นที่จังหวัดอุทัยธานีมีเนื้อที่ 960,303 ไร (รอยละ 22.83 ของพื้นที่

                       จังหวัด) โดยอำเภอที่มีพื้นที่เขตปฏิรูปที่ดินมากที่สุด ไดแก อำเภอบานไร อำเภอลานสัก และอำเภอ

                       หวยคต ตามลำดับ (ตารางผนวกที่ 4)

                         1.8  การขึ้นทะเบียนเกษตรกร

                             จากฐานขอมูลทะเบียนเกษตรกรของกรมสงเสริมการเกษตร จังหวัดอุทัยธานีมีการขึ้น
                       ทะเบียนเกษตรกรผูปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตวทั้งหมดในป 2563 จำนวน 85,410 ราย รวมพื้นที่

                       1,366,103 ไร และกิจกรรมที่มีพื้นที่ปลูกมาก ไดแก ขาวนาป มันสำปะหลังโรงงาน ขาวโพดเลี้ยงสัตว
                       ออยโรงงาน เปนตน (ตารางผนวกที่ 5)

                             ทะเบียนเกษตรพืชสมุนไพร จากฐานขอมูลกลาง (Farmer One) ของสำนักงานเศรษฐกิจ

                       การเกษตร เกษตรกรไดขึ้นทะเบียนปลูกพืชสมุนไพรในจังหวัดอุทัยธานี พื้นที่ 507.69 ไร เกษตรกร 41 ราย
                       มีพืชสมุนไพรหลัก 12 ชนิด  สมุนไพรที่มีการปลูกมาก ไดแก กฤษณา กระเจี๊ยบ ขมิ้นชัน ตามลำดับ

                       (ตารางผนวกที่ 6)

                         1.9  ที่ตั้งโรงงานและแหลงรับซื้อสินคาเกษตร

                             จังหวัดอุทัยธานีมีแหลงรับซื้อสินคาเกษตรและสหกรณการเกษตรที่สำคัญ จำนวน 65 แหง

                       และมีโรงงานทางการเกษตร 113 แหง โดยมีที่ตั้งสหกรณการเกษตรมากที่สุด 28 แหง (ตารางผนวกที่ 7)

                       2. การวิเคราะหพืชเศรษฐกิจหลัก


                           พืชเศรษฐกิจที่สำคัญพิจารณาจากพืชที่มีพื้นที่ปลูกมากและมีมูลคาการสงออกหรือแปรรูปโดย
                       กระทรวงเกษตรและสหกรณ ประกาศพืชเศรษฐกิจ 13 ชนิดพืช ไดแก ขาว มันสำปะหลัง ยางพารา

                       ปาลมน้ำมัน ออยโรงงาน ขาวโพดเลี้ยงสัตว สับปะรดโรงงาน ลำไย เงาะ ทุเรียน มังคุด มะพราว และ
                       กาแฟ จากพื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจดังกลาว กรมพัฒนาที่ดิน ไดกำหนดระดับความเหมาะสมของพื้นที่

                       ปลูกรายจังหวัด โดยวิเคราะหจากสภาพพื้นที่ ลักษณะของดิน ปริมาณน้ำฝน แหลงน้ำชลประทาน

                       รวมกับการจัดการพื้นที่และลักษณะรายพืช โดยแบงระดับความเหมาะสม เปน 4 ระดับ ไดแก
                           ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) การปลูกพืชใหผลตอบแทนสูง

                           ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) การปลูกพืชใหผลตอบแทนสูง แตพบ

                       ขอจำกัดบางประการซึ่งสามารถบริหารจัดการได
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16