Page 8 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุทัยธานี
P. 8

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                1







                       1. ขอมูลทั่วไป


                         จังหวัดอุทัยธานี มีพื้นที่ 6,730.246 ตารางกิโลเมตร หรือ 4,206,404.00 ไร ตั้งอยูในภาคกลาง

                       ของประเทศไทย ประกอบดวย 8 อำเภอ 70 ตำบล (ตารางภาคผนวกที่ 1) มีจำนวนประชากร
                       325,838 คน (กรมการปกครอง, 2563)

                         1.1  อาณาเขตติดตอ
                             ทิศเหนือ      ติดตอ จังหวัดนครสวรรค

                             ทิศใต       ติดตอ จังหวัดชัยนาท และจังหวัดสุพรรณบุรี

                             ทิศตะวันออก   ติดตอ จังหวัดนครสวรรค และจังหวัดชัยนาท
                             ทิศตะวันตก    ติดตอ จังหวัดตาก และจังหวัดกาญจนบุรี

                         1.2  ภูมิประเทศ

                             สภาพภูมิประเทศของจังหวัดอุทัยธานี โดยทั่วไปเปนภูเขาสูงและปกคลุมดวยปา ครอบคลุม

                       พื้นที่ 2 ใน 3 สวนของจังหวัด บริเวณดานตะวันตกเปนเทือกเขาสลับซับซอน มีปาไมอุดมสมบูรณ

                       เปนตนกำเนิดของแมน้ำแมกลองและแมน้ำทับเสลา ตอนกลางของจังหวัดเปนที่ราบเชิงเขาและที่ดอน
                       คลายลูกคลื่นสลับกับเนินเขาเตี้ยๆ ดานตะวันออกสวนใหญเปนที่ราบลุม

                         1.3  ภูมิอากาศ

                             สภาพภูมิอากาศของจังหวัดอุทัยธานี มี 3 ฤดู ไดแก ฤดูรอน เริ่มตั้งแตกลางเดือนกุมภาพันธ
                       จนถึงกลางเดือนพฤษภาคม ฤดูฝน เริ่มตั้งแตกลางเดือนพฤษภาคมจนถึงตุลาคม โดยฝนตกบริเวณ

                       ดานตะวันตกมากกวาดานตะวันออก เนื่องจากไดรับอิทธิพลของมรสุมและดีเปรสชั่น ฤดูหนาวเริ่ม
                       ตั้งแตเดือนตุลาคมจนถึงเดือนกุมภาพันธ ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 1,770.3 มิลิเมตรตอป อุณหภูมิต่ำสุด

                       เฉลี่ย 17.6 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 36 องศาเซลเซียส
                         1.4  ทรัพยากรดิน

                             ทรัพยากรดินของจังหวัดอุทัยธานี แบงตามภูมิสัณฐาน ลักษณะทางธรณีวิทยา วัตถุ

                       ตนกำเนิดดิน สภาพพื้นที่ที่พบ ไดดังนี้
                             1) ที่ราบน้ำทวมถึง (Flood plain) ที่ราบริมแมน้ำหรือลำธาร หนาฝนหรือหนาน้ำ มักมี

                       น้ำทวมเปนครั้งคราว เปนสภาพพื้นที่ที่เกิดจาการทับถมของตะกอนน้ำพา และมีตะกอนเพิ่มมากขึ้น

                       หลังน้ำทวม แบงเปน

                               (1) สันดินริมน้ำ (Levee) เปนที่ดอน เกิดจากการทับถมของตะกอนน้ำพาบริเวณริมฝง

                       แมน้ำ เปนสันนูนขนานไปกับริมฝงแมน้ำ การระบายน้ำคอนขางดีถึงดี เนื้อดินคอนขางหยาบ อาทิ
                       ชุดดินเชียงใหม (Cm)
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13