Page 23 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุตรดิตถ์
P. 23
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
16
3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวแตยังไมใช
พื้นที่ปลูก พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว และพื้นที่ปลูกขาวโพด
เลี้ยงสัตวในชั้นความเหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดอุตรดิตถมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับ
ความเหมาะสมสูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 443,122 ไร กระจายอยูใน
อําเภอตาง ๆ โดยอําเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อําเภอพิชัย 107,803 ไร รองลงมา
ไดแก อําเภอน้ําปาด 70,928 ไร และอําเภอทองแสนขัน 67,621 ไร โดยมีรายละเอียดดังนี้
(1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 8,169 ไร คิดเปนรอยละ 86.78
ของพื้นที่ศักยภาพสูง พบมากในอําเภอเมืองอุตรดิตถ 4,006 ไร อําเภอน้ําปาด 1,591 ไร และอําเภอ
ทองแสนขัน 1,146 ไร
(2) พื้นที่เหมาะสมปานกลางคงเหลือ (S2) มีเนื้อที่ 434,953 ไร คิดเปนรอยละ 86.61 ของ
พื้นที่ศักยภาพปานกลาง พบมากในอําเภอพิชัย 107,771 ไร อําเภอน้ําปาด 69,337 ไร และอําเภอ
ทองแสนขัน 66,475 ไร
ตารางที่ 7 พื้นที่ศักยภาพ พื้นที่ปลูกจริง พื้นที่คงเหลือของขาวโพดเลี้ยงสัตวรายอําเภอ จังหวัดอุตรดิตถ
เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร)
อําเภอ ประเภทพื้นที่
S1 S2 S3 N รวม
4,740 61,581 92,690 135,883 294,894
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
เมือง พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 734 2,987 10,875 1,924 16,520
อุตรดิตถ เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)
(15.49%) (4.85%) (11.73%) (1.42%) (5.60%)
4,006 58,594 - - 62,600
พื้นที่ศักยภาพคงเหลือ
(84.51%) (95.15%) (21.23%)
837 62,444 14,708 95,386 173,375
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 211 7,346 2,397 1,342 11,296
ตรอน
เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)
(25.21%) (11.76%) (16.30%) (1.41%) (6.5%)2
พื้นที่ศักยภาพคงเหลือ 626 55,098 - - 55,724
(74.79%) (88.24%) (32.14%)