Page 22 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุตรดิตถ์
P. 22

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               15








                                  พื้นที่ปลูกออยโรงงานในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูกออยโรงงานใน
                       ที่ดินที่ไมมีขอจํากัดทางกายภาพตอการปลูกออยโรงงาน ซึ่งควรสงวนไวเปนแหลงปลูกออยโรงงานที่
                       สําคัญของจังหวัด กระจายอยูในอําเภอพิชัย และอําเภอทองแสนขัน
                                  พื้นที่ปลูกออยโรงงานในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูก

                       ออยโรงงานในที่ดินที่มีขอจํากัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกออยโรงงาน เชน ความอุดมสมบูรณ
                       ของดิน ความเปนกรดเปนดาง ความชื้น กระจายอยูในอําเภอตรอน อําเภอพิชัย อําเภอทองแสนขัน
                       อําเภอแมวงก และอําเภอเมืองอุตรดิตถ
                                (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนใหเขา

                       โครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกวาการปลูกออยโรงงาน มีตนทุนที่ต่ํา
                       และใหผลตอบแทนที่ดีกวา แตทั้งนี้ตองพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย

                         2.3  ขาวโพดเลี้ยงสัตว
                              ขาวโพดเลี้ยงสัตวเปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญของจังหวัดอุตรดิตถ พื้นที่ปลูกสวนใหญอยูในพื้นที่

                       อําเภอน้ําปาด และอําเภอทองแสนขัน จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online
                       วิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 7 และภาพที่ 10 - 11)
                              1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว
                                ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 9,413 ไร คิดเปนรอยละ 0.56
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองอุตรดิตถ 4,740 ไร อําเภอน้ําปาด 1,842

                       ไร และอําเภอทองแสนขัน 1,167 ไร
                                ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 502,218 ไร คิดเปนรอยละ
                       29.68 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอพิชัย 115,019 ไร อําเภอน้ําปาด 88,232 ไร

                       และอําเภอทองแสนขัน 81,058 ไร
                                ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 374,764 ไร คิดเปนรอยละ 22.15
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองอุตรดิตถ 92,690 ไร อําเภอ
                       ทองแสนขัน 74,594 ไร และอําเภอทาปลา 70,809 ไร

                                ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 805,558 ไร
                              2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสม
                       ของที่ดิน ไดดังนี้
                                (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 1,244 ไร คิดเปนรอยละ 13.22 ของพื้นที่ศักยภาพสูง

                       กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองอุตรดิตถ 734 ไร อําเภอน้ําปาด 251 ไร และอําเภอตรอน 211 ไร
                                (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 67,265 ไร คิดเปนรอยละ 13.39 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอน้ําปาด 18,895 ไร อําเภอทองแสนขัน 14,583 ไร และ
                       อําเภอบานโคก 9,088 ไร

                                (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 51,731 ไร คิดเปนรอยละ 13.80 ของพื้นที่
                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอทองแสนขัน 12,698 ไร อําเภอเมืองอุตรดิตถ 10,875 ไร
                       และอําเภอน้ําปาด 8,602 ไร
                                (4) พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 23,310 ไร
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27