Page 21 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุตรดิตถ์
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               14








                       ตารางที่ 5 (ตอ)

                                                                     เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร)
                         อําเภอ       ประเภทพื้นที่
                                                          S1        S2         S3        N        รวม

                                                          32,517    488,389   387,505   935,804   1,844,215
                                 พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                       (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)
                         รวมทั้ง  พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ   4,414   94,162   63,843      905    163,324
                         จังหวัด  เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)   (13.57%)   (19.28%)   (16.48%)   (0.10%)   (8.86%)

                                                          28,103    394,227        -         -    422,330
                                 พื้นที่ศักยภาพคงเหลือ
                                                        (86.43%)   (80.72%)                      (22.90%)


                                ทั้งนี้ ในการสงเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับความ
                       เหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เทานั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืชตรงตาม
                       ศักยภาพของดิน การลงทุนต่ําก็สามารถเพิ่มผลผลิตได จึงควรสงเสริมในพื้นที่ดังกลาว
                                เมื่อวิเคราะหขอมูลศักยภาพพื้นที่รวมกับพื้นที่ปลูกพืชในปจจุบัน พบวาพื้นที่ที่ควรพิจารณา

                       ใหมีการปรับเปลี่ยนไปปลูกออยโรงงาน คือ บริเวณที่เปนพื้นที่ปลูกขาว (S3+N) 65,795 ไร (ตารางที่ 6)

                       ตารางที่ 6  พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตออยโรงงาน


                                                                       ขาว (ไร)
                               อําเภอ
                                                        S3                 N                 รวม

                            เมืองอุตรดิตถ            8,048               89               8,137
                            ตรอน                      4,502                 -              4,502

                            ทองแสนขัน                13,331              126              13,457
                            ทาปลา                    1,520                 -              1,520
                            น้ําปาด                   9,396            1,309              10,705

                            บานโคก                   1,914            2,287               4,201
                            พิชัย                    16,508                3              16,511

                            ฟากทา                    5,361              900               6,261
                            ลับแล                       501                 -                501
                             รวม                     61,081            4,714              65,795


                              4) แนวทางการจัดการ

                                (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนใหเกษตรกร
                       ปลูกออยโรงงานตอไป เนื่องจากเปนพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิตและไดผลผลิต
                       ที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกออยโรงงานในพื้นที่ดังกลาวขางตนสามารถนําไปสูการตอยอดโครงการ
                       ที่สําคัญตาง ๆ ได เชน เกษตรอินทรีย ระบบสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ เกษตรแมนยํา เปนตน
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26