Page 18 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุตรดิตถ์
P. 18

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               11








                         2.2  ออยโรงงาน
                              ออยโรงงานจัดเปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญของจังหวัดอุตรดิตถ และมีโรงงานแปรรูป (โรงงาน
                       น้ําตาล) ตั้งอยูในเขตจังหวัด จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online สามารถ
                       วิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 5 และภาพที่ 8 - 9)

                              1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกออยโรงงาน
                                ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 32,517 ไร คิดเปนรอยละ 1.76
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอทองแสนขัน 14,801 ไร อําเภอพิชัย 10,732 ไร
                       และอําเภอทาปลา 4,266 ไร

                                ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 488,389 ไร คิดเปนรอยละ
                       26.48 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอพิชัย 108,824 ไร อําเภอน้ําปาด 90,184 ไร
                       และอําเภอทองแสนขัน 68,234 ไร
                                ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 387,505 ไร คิดเปนรอยละ

                       21.01 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองอุตรดิตถ 93,469 ไร อําเภอ
                       ทองแสนขัน 74,734 ไร และอําเภอทาปลา 70,872 ไร
                                ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 935,804 ไร

                              2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกออยโรงงานในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสม
                       ของที่ดิน ไดดังนี้
                                (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 4,414 ไร คิดเปนรอยละ 13.57 ของพื้นที่ศักยภาพสูง
                       กระจายตัวมากอยูในอําเภอพิชัย 2,263 ไร อําเภอทองแสนขัน 1,508 ไร และอําเภอทาปลา 535 ไร
                                (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 94,162 ไร คิดเปนรอยละ 19.28 ของพื้นที่

                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอตรอน 32,019 ไร อําเภอพิชัย 26,551 ไร และอําเภอ
                       ทองแสนขัน 17,261 ไร
                                (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 63,843 ไร คิดเปนรอยละ 16.48 ของพื้นที่ศักยภาพ

                       เล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอทองแสนขัน 21,798 ไร อําเภอเมืองอุตรดิตถ 18,119 ไร และ
                       อําเภอพิชัย 9,776 ไร
                                (4) พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 905 ไร
                              3)  พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกออยโรงงานแตยังไมใชพื้นที่ปลูก

                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกออยโรงงาน และพื้นที่ปลูกออยโรงงานในชั้น
                       ความเหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดอุตรดิตถมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความ
                       เหมาะสมสูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 422,330 ไร กระจายอยูในอําเภอตาง ๆ
                       โดยอําเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อําเภอพิชัย 90,742 ไร รองลงมาไดแก อําเภอน้ําปาด

                       86,578 ไร และ อําเภอทองแสนขัน 64,266 ไร โดยมีรายละเอียดดังนี้
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23