Page 14 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุตรดิตถ์
P. 14
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
7
3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกขาวแตยังไมใชพื้นที่ปลูก
พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกขาว และพื้นที่ปลูกขาวในชั้นความเหมาะสมตาง ๆ
(ปลูกจริง) พบวาจังหวัดอุตรดิตถมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง (S1) และความ
เหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 93,250 ไร กระจายอยูทั่วทุกอําเภอ โดยอําเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพ
คงเหลือมากที่สุด ไดแก อําเภอพิชัย 34,320 ไร รองลงมา อําเภอลับแล 18,027 ไร และอําเภอเมือง
อุตรดิตถ 17,973 ไร โดยมีรายละเอียดดังนี้
(1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 78,603 ไร คิดเปนรอยละ 40.49 ของพื้นที่
ศักยภาพสูง พบมากในอําเภอพิชัย 30,198 ไร อําเภอลับแล 17,789 ไร อําเภอเมืองอุตรดิตถ 15,349 ไร
(2) พื้นที่เหมาะสมปานกลางคงเหลือ (S2) มีเนื้อที่ 14,647 ไร คิดเปนรอยละ 3.00
ของพื้นที่ศักยภาพปานกลาง พบมากในอําเภอพิชัย 4,122 ไร อําเภอเมืองอุตรดิตถ 2,624 ไร และอําเภอ
ทองแสนขัน 2,434 ไร
ตารางที่ 3 พื้นที่ศักยภาพ พื้นที่ปลูกจริง พื้นที่คงเหลือของขาวรายอําเภอ จังหวัดอุตรดิตถ
เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร)
อําเภอ ประเภทพื้นที่
S1 S2 S3 N รวม
30,857 81,331 8,022 226,703 346,913
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
เมือง พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 15,508 78,707 8,022 11,916 114,153
อุตรดิตถ เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)
(50.26%) (96.77%) (100.00%) (5.26%) (32.91%)
15,349 2,624 - - 17,973
พื้นที่ศักยภาพคงเหลือ
(49.74%) (3.23%) (5.18%)
8,958 90,535 4,487 83,476 187,456
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 26 88,455 4,487 1,776 94,744
ตรอน
เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)
(0.29%) (97.70%) (100.00%) (2.13%) (50.54%)
8,932 2,080 - - 11,012
พื้นที่ศักยภาพคงเหลือ
(99.71%) (2.30%) (5.87%)