Page 13 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุตรดิตถ์
P. 13

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                6








                       ตารางที่ 2  พื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจที่มีพื้นที่ปลูกมาก 4 ลําดับแรกของจังหวัดอุตรดิตถ

                                พืชเศรษฐกิจ                  เนื้อที่ (ไร)     รอยละของพื้นที่เกษตรกรรม
                             1. ขาว                          702,443                     42.57
                             2. ออยโรงงาน                    163,324                      9.90

                             3. ขาวโพดเลี้ยงสัตว            143,550                      8.70
                             4. มันสําปะหลัง                   35,746                      2.17
                       ที่มา: https://agri-map-online.moac.go.th, 2564


                         2.1  ขาว
                              ขาวเปนพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัดอุตรดิตถ สภาพพื้นที่สวนใหญเปนที่ราบลุม มีความ
                       เหมาะสมในการปลูกขาว จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online วิเคราะห

                       ขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 3 และภาพที่ 6 - 7)
                              1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกขาว
                                ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 194,126 ไร คิดเปนรอยละ 10.53 ของ

                       พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอพิชัย 76,678 ไร อําเภอลับแล 47,195 ไร และ
                       อําเภอเมืองอุตรดิตถ 30,857 ไร
                                ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 487,730 ไร คิดเปนรอยละ
                       26.45 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอพิชัย 216,132 ไร อําเภอตรอน 90,535 ไร

                       และอําเภอเมืองอุตรดิตถ 81,331 ไร
                                ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 60,887 ไร คิดเปนรอยละ 3.30
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอพิชัย 16,454 ไร อําเภอทองแสนขัน 13,292 ไร
                       และอําเภอน้ําปาด 9,366 ไร

                                ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 1,100,987 ไร
                              2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกขาวในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน ไดดังนี้
                                (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 115,523 ไร คิดเปนรอยละ 59.51ของพื้นที่ศักยภาพสูง
                       กระจายตัวมากอยูในอําเภอพิชัย 46,480 ไร อําเภอลับแล 29,406 ไร และอําเภอทองแสนขัน 15,821 ไร

                                (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 473,083 ไร คิดเปนรอยละ 97.00 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอพิชัย 212,010 ไร อําเภอตรอน 88,455 ไร และ
                       อําเภอเมืองอุตรดิตถ 78,707 ไร

                                (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 60,882 ไร คิดเปนรอยละ 99.99 ของพื้นที่ศักยภาพ
                       เล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอพิชัย 16,454 ไร อําเภอทองแสนขัน 13,287 ไร และอําเภอน้ํา
                       ปาด 9,366 ไร
                                (4) พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 52,955 ไร
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18