Page 9 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุตรดิตถ์
P. 9

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                2








                         1.4  ทรัพยากรดิน
                             ทรัพยากรดินของจังหวัดอุตรดิตถ แบงตามภูมิสัณฐาน ลักษณะทางธรณีวิทยา และวัตถุ
                       ตนกําเนิดดิน ไดดังนี้
                             1) ที่ราบน้ําทวมถึง (Flood plain) ที่ราบริมแมน้ําหรือลําธาร หนาฝนหรือหนาน้ํา มักมี

                       น้ําทวมเปนครั้งคราว เปนสภาพพื้นที่ที่เกิดจากการทับถมของตะกอนน้ําพา และมีตะกอนเพิ่มมากขึ้น
                       หลังน้ําทวม ไดแก สันดินริมน้ํา (Levee) เปนที่ดอน มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอน
                       ลาดเล็กนอย เกิดจากการทับถมของตะกอนน้ําพาบริเวณริมฝงแมน้ํา เปนสันนูนขนานไปกับริมฝง
                       แมน้ําดินลึก เนื้อดินรวนหยาบ สีน้ําตาล สีน้ําตาลปนแดง การระบายน้ําดีปานกลางถึงดี เชน ชุดดิน

                       เชียงใหม (Cm) ชุดดินตะพานหิน (Tph) เปนตน
                             2)  ที่ราบตะกอนน้ําพา (Alluvial plain) เปนบริเวณที่ไดรับอิทธิพลของแมน้ําหรือลําน้ําสาขา
                       วัตถุตนกําเนิดดินเปนตะกอนน้ําพา (Alluvium) มีสภาพพื้นที่เปนที่ราบขนาดใหญสองฝงแมน้ํา
                       แตละฝงอาจมีที่ราบแบบขั้นบันไดหรือตะพักไดหลายระดับ แบงเปน

                               (1) ตะพักลําน้ําระดับต่ํา (Low terrace) เปนที่ลุม มีสภาพพื้นที่ราบเรียบ ดินลึกมาก เนื้อดิน
                       อาจเปนดินเหนียวละเอียดถึงดินทรายแปงละเอียด สีเทา น้ําตาลปนเทา และน้ําตาล มีจุดประสีตาง ๆ
                       การระบายน้ําคอนขางเลวถึงเลว เชน ชุดดินสุโขทัย (Skt) ชุดดินหางดง (Hd) เปนตน

                               (2)  ตะพักลําน้ําระดับกลางและระดับสูง  (Middle and  High  terrace)  เปนที่ดอน
                       มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด  ดินตื้นถึงชั้นกรวดลูกรังถึงดินลึกมาก  เนื้อดินเปนดิน
                       รวนหยาบ ดินรวนละเอียดหรือดินรวนปนชิ้นสวนหยาบมาก สีน้ําตาล เหลือง น้ําตาลปนแดง ไปจนถึงแดง
                       การระบายน้ําดีปานกลางถึงดี เชน ชุดดินแมริม (Mr) ชุดดินแพร (Pae) เปนตน
                               (3) เนินตะกอนน้ําพารูปพัด (Alluvial fan) เปนที่ดอน มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึง

                       ลูกคลื่นลอนลาด เปนดินลึกมาก เนื้อดินเปนดินรวนหยาบถึงดินทรายแปงละเอียด สีน้ําตาล เหลือง
                       จนถึงแดง การระบายน้ําดีปานกลางถึงดี อาทิ ชุดดินดงยางเอน (Don)
                             3) ที่ลาดเชิงเขา (Piedmont) เขา (Hill) ภูเขา (Mountain) มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่น

                       ลอนลาดถึงเนินเขา ที่เกิดจากการที่หินผุพังสลายตัวอยูกับที่หรือถูกเคลื่อนยายโดยแรงโนมถวงของ
                       โลกในระยะทางใกล ๆ และถูกควบคุมดวยลักษณะของโครงสรางทางธรณีวิทยา สวนใหญพบหิน
                       ปะปนในหนาตัดดินและลอยหนา แบงตามลักษณะและชนิดของหินดังนี้
                               (1) พัฒนาจากกลุมหินตะกอนหรือหินแปรเนื้อหยาบหรือหินในกลุม สวนใหญเปน

                       หินทรายและหินควอรตไซต ดินตื้นถึงชั้นเศษหินหรือหินพื้นถึงดินลึกปานกลาง เนื้อดินเปนดินรวนหยาบ
                       ถึงดินรวนปนชิ้นสวนหยาบมาก สีน้ําตาล สีน้ําตาลปนเหลือง น้ําตาลปนแดง จนถึงแดง การระบายน้ําดี
                       พบเศษหินปะปนในหนาตัดดินหรือบนผิวดิน เชน ชุดดินทายาง (Ty) ชุดดินลาดหญา (Ly) เปนตน
                               (2) พัฒนาจากหินทราย ดินตื้นถึงชั้นเศษหินหรือหินพื้นถึงดินลึกมาก เนื้อดินเปนทรายปน

                       ดินรวนถึงดินรวนปนชิ้นสวนหยาบมาก สีแดง น้ําตาล และน้ําตาลปนแดง การระบายน้ําดีถึงมากเกินไป
                       พบเศษหินปะปนในหนาตัดดินหรือบนผิวดิน เชน ชุดดินโพนงาม (Png) ชุดดินดานซาย (Ds) เปนตน
                               (3) พัฒนาจากหินทรายแปง ดินตื้นถึงชั้นเศษหินหรือหินพื้นถึงดินลึกมาก เนื้อดินเปน
                       ดินรวนละเอียดถึงดินเหนียวละเอียด สีแดง น้ําตาล และน้ําตาลปนแดง การระบายน้ําดี พบเศษหิน

                       ปะปนในหนาตัดดินหรือบนผิวดิน เชน ชุดดินภูเรือ (Pur) ชุดดินจัตุรัส (Ct) เปนตน
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14