Page 11 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุตรดิตถ์
P. 11
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
4
ตารางที่ 1 สภาพการใชที่ดินปจจุบันของจังหวัดอุตรดิตถ
เนื้อที่
ประเภทการใชที่ดิน
ไร รอยละ
พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง 184,593 3.76
พื้นที่เกษตรกรรม 1,650,242 33.67
พื้นที่นา 721,684 14.74
พืชไร 549,783 11.22
ไมยืนตน 117,816 2.41
ไมผล 246,907 5.01
พืชสวน 7,992 0.16
ทุงหญาเลี้ยงสัตวและโรงเรือนเลี้ยงสัตว 3,794 0.08
พืชน้ํา 621 0.01
สถานที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา 867 0.02
เกษตรผสมผสาน/ไรนาสวนผสม 778 0.02
พื้นที่ปาไม 2,780,635 56.77
พื้นที่น้ํา 226,317 4.63
พื้นที่เบ็ดเตล็ด 57,333 1.17
รวม 4,899,120 100.00
ที่มา: กรมพัฒนาที่ดิน, 2563
1.6 พื้นที่ชลประทาน
จังหวัดอุตรดิตถ มีเนื้อที่ชลประทาน 187,340 ไร (รอยละ 3.82 ของพื้นที่จังหวัด) กระจายอยูใน
7 อําเภอ มีอางเก็บน้ําที่สําคัญ 3 อาง มีศักยภาพในการเก็บกักน้ําไดรวม 9,559.27 ลานลูกบาศกเมตร
อางเก็บน้ําที่สําคัญ คือ อางเก็บน้ําสิริกิติ์ มีระดับกักเก็บอยูที่ 9,500 ลานลูกบาศกเมตร คิดเปนรอยละ
99.38 ของน้ําเก็บกักของอางเก็บน้ําในจังหวัดอุตรดิตถ (ตารางผนวกที่ 2 - 3)
1.7 เขตปฏิรูปที่ดิน
เขตปฏิรูปที่ดินในพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถมีเนื้อที่ 382,338 ไร (รอยละ 7.80 ของพื้นที่จังหวัด)
โดยอําเภอที่มีพื้นที่เขตปฏิรูปที่ดินมากที่สุด ไดแก อําเภอทองแสนขัน อําเภอพิชัย และอําเภอเมือง
อุตรดิตถ ตามลําดับ (ตารางผนวกที่ 4)