Page 10 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุตรดิตถ์
P. 10

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                3








                               (4) พัฒนาจากกลุมหินตะกอนหรือหินแปรเนื้อละเอียดหรือหินในกลุม สวนใหญเปน
                       หินดินดานและหินฟลไลต ดินตื้นถึงชั้นเศษหินหรือหินพื้นถึงดินลึกปานกลาง เนื้อดินเปนดินเหนียว
                       ละเอียดถึงดินเหนียวปนชิ้นสวนหยาบมาก สีน้ําตาล น้ําตาลปนแดง และน้ําตาลปนเหลือง การระบายน้ําดี
                       พบเศษหินปะปนในหนาตัดดินหรือบนผิวดิน เชน ชุดดินวังสะพุง (Ws) ชุดดินลี้ (Li) เปนตน

                               (5) พัฒนาจากกลุมหินอัคนีหรือหินในกลุม ดินตื้นถึงชั้นเศษหิน เนื้อดินเปนดินรวนปนชิ้นสวน
                       หยาบมาก สีแดง น้ําตาล น้ําตาลปนเหลือง และน้ําตาลปนแดง การระบายน้ําดี อาทิ ชุดดินทาลี่ (Tl)
                               (6) พัฒนาจากหินอัคนีชนิดไรโอไลต ดินตื้นถึงชั้นเศษหิน เนื้อดินเปนดินรวนปนชิ้นสวน
                       หยาบมาก สีน้ําตาล น้ําตาลปนเหลือง และน้ําตาลปนแดง การระบายน้ําดี อาทิ ชุดดินไพศาลี (Phi)

                               (7) พัฒนาจากหินอัคนีชนิดหินแกรนิต ดินลึกมาก เนื้อดินเปนดินเหนียวปนทราย
                       สีน้ําตาล น้ําตาลปนแดง ถึงแดง การระบายน้ําดี อาทิ ชุดดินหนองมด (Nm)
                             4) พื้นที่ลาดชันเชิงซอน เปนพื้นที่ที่มีความลาดชันมากกวารอยละ 35 สวนใหญเปนภูเขา
                       และเทือกเขาสูงสลับซับซอน ทรัพยากรดินมีความแตกตางกันออกไปในแตละพื้นที่

                             ซึ่งไดแสดงรายละเอียดของชุดดินที่พบมากของจังหวัดอุตรดิตถในภาพที่ 1 - 5

                         1.5  สภาพการใชที่ดิน
                             สภาพการใชที่ดินปจจุบันของจังหวัดอุตรดิตถ จากฐานขอมูลแผนที่สภาพการใชที่ดิน
                       ของกรมพัฒนาที่ดิน (ตารางที่ 1)
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15