Page 12 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดลำพูน
P. 12

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                5








                           ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีขอจำกัดการของดินและน้ำ สงผลใหการผลิตพืช
                       ใหผลตอบแทนต่ำ การใชพื้นที่ตองใชตนทุนสูงในการจัดการ และมีความเสี่ยงจากน้ำทวม และขาดน้ำ

                           ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N)
                           จังหวัดลำพูน มีพื้นที่พืชเศรษฐกิจสำคัญที่ปลูกมาก 4 ลำดับแรก ไดแก ลำไย ขาว ขาวโพด

                       เลี้ยงสัตว และมันสำปะหลัง ตามลำดับ (ตารางที่ 2)


                       ตารางที่ 2  พื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจที่มีพื้นที่ปลูกมาก 4 ลำดับแรกของจังหวัดลำพูน


                                พืชเศรษฐกิจ                  เนื้อที่ (ไร)     รอยละของพื้นที่เกษตรกรรม
                             1. ลำไย                          316,997                     34.71

                             2. ขาว                          145,258                     15.91

                             3. ขาวโพดเลี้ยงสัตว             55,107                      6.03
                             4. มันสำปะหลัง                     9,461                      1.04

                       ที่มา: https://agri-map-online.moac.go.th, 2564

                         2.1  ลำไย

                                ลำไยเปนพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัดลำพูน จากสภาพพื้นที่สวนใหญเปนที่ปลูกบนพื้นที่

                       ราบลุมน้ำปง ที่ราบขั้นบันได และที่ราบลุมในหุบเขาซึ่งมีลักษณะเปนดินน้ำไหลทรายมูล คือ เปนดินรวน
                       ปนทรายที่เกิดจากตะกอนกรวด หิน ดิน ทราย อินทรียวัตถุที่น้ำพัดพามาทับถมในเขตที่ราบลุมแมน้ำ

                       ทำใหตนลำไยเจริญเติบโตไดดี จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online

                       วิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 3 และภาพที่ 6 - 7)
                               1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกลำไย

                                  ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 139,369 ไร คิดเปนรอยละ 14.60

                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอำเภอเมืองลำพูน 47,656 ไร อำเภอปาซาง 32,897 ไร
                       และอำเภอบานโฮง 24,034 ไร

                                  ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 456,340 ไร คิดเปนรอยละ

                       47.70 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอำเภอเมืองลี้ 157,566 ไร อำเภอปาซาง

                       88,336 ไร และอำเภอบานโฮง 70,364 ไร

                                  ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 9,304 ไร คิดเปนรอยละ 0.97
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอำเภอลี้ 3,360 ไร อำเภอแมทา 2,415 ไร และ

                       อำเภอเมืองลำพูน 2,059 ไร

                                  ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 351,193 ไร
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17