Page 11 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดลำพูน
P. 11

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                4








                         1.6  พื้นที่ชลประทาน
                               จังหวัดลำพูนมีเนื้อที่ชลประทาน  87,526.12  ไร (รอยละ 3.13 ของพื้นที่จังหวัด) กระจายอยูใน

                       6 อำเภอ มีอางเก็บน้ำที่สำคัญ 4  อาง มีศักยภาพในการเก็บกักน้ำไดรวม 34.10 ลานลูกบาศกเมตร

                       พื้นที่ชลประทานมีความสำคัญในการพิจารณาเพิ่มศักยภาพการผลิตที่เหมาะสม (ตารางผนวกที่ 2 - 3)

                         1.7  เขตปฏิรูปที่ดิน

                               เขตปฏิรูปที่ดินในพื้นที่จังหวัดลำพูนมีเนื้อที่ 150,654 ไร (รอยละ 5.35 ของพื้นที่จังหวัด)

                       โดยอำเภอที่มีพื้นที่เขตปฏิรูปที่ดินมากที่สุด ไดแก อำเภอลี้ อำเภอปาซาง และอำเภอแมทา ตามลำดับ

                       (ตารางผนวกที่ 4)

                         1.8  การขึ้นทะเบียนเกษตรกร

                             จากฐานขอมูลทะเบียนเกษตรกรของกรมสงเสริมการเกษตร จังหวัดลำพูนมีการขึ้นทะเบียน

                       เกษตรกรผูปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตวทั้งหมดในป 2563 จำนวน 91,554 ราย รวมพื้นที่   597,657 ไร
                       กิจกรรมที่มีพื้นที่ปลูกมากไดแก ลำไย ขาวนาป ขาวโพดเลี้ยงสัตว มะมวง ตามลำดับ (ตารางผนวกที่ 5)

                              ทะเบียนเกษตรพืชสมุนไพร จากฐานขอมูลกลาง (Farmer One) ของสำนักงานเศรษฐกิจ
                       การเกษตร เกษตรกรไดขึ้นทะเบียนปลูกพืชสมุนไพรในจังหวัดลำพูนพื้นที่  94.20 ไร เกษตรกร  26 ราย

                       มีพืชสมุนไพรหลัก ๆ 10  ชนิด  สมุนไพรที่มีการปลูกมาก คือ  สมุนไพรอื่น ๆ คำฝอย และเจียวกูหลาน

                       ตามลำดับ (ตารางผนวกที่ 6)

                         1.9  ที่ตั้งโรงงานและแหลงรับซื้อสินคาเกษตร

                             จังหวัดลำปางมีแหลงรับซื้อสินคาเกษตรและสหกรณการเกษตรที่สำคัญจำนวน 58 แหง และ
                       ที่ตั้งโรงงานทางการเกษตร 115 แหง โดยมีที่ตั้งสหกรณการเกษตรมากที่สุด 37 แหง (ตารางผนวกที่ 7)


                       2. การวิเคราะหพืชเศรษฐกิจหลัก


                           พืชเศรษฐกิจที่สำคัญพิจารณาจากพืชที่มีพื้นที่ปลูกมากและมีมูลคาการสงออกหรือแปรรูปโดย

                       กระทรวงเกษตรและสหกรณ ประกาศพืชเศรษฐกิจ 13 ชนิดพืช ไดแก ขาว มันสำปะหลัง ยางพารา
                       ปาลมน้ำมัน ออยโรงงาน ขาวโพดเลี้ยงสัตว สับปะรดโรงงาน ลำไย เงาะ ทุเรียน มังคุด มะพราว และ

                       กาแฟ จากพื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจดังกลาว กรมพัฒนาที่ดิน ไดกำหนดระดับความเหมาะสมของพื้นที่

                       ปลูกรายจังหวัด โดยวิเคราะหจากสภาพพื้นที่ ลักษณะของดิน ปริมาณน้ำฝน แหลงน้ำชลประทาน
                       รวมกับการจัดการพื้นที่และลักษณะรายพืช โดยแบงระดับความเหมาะสม เปน 4 ระดับ ไดแก

                           ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) การปลูกพืชใหผลตอบแทนสูง
                           ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) การปลูกพืชใหผลตอบแทนสูง แตพบ

                       ขอจำกัดบางประการซึ่งสามารถบริหารจัดการได
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16