Page 10 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดลำพูน
P. 10

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                3








                       ดินเหนียวละเอียดถึงดินเหนียวปนชิ้นสวนหยาบมาก สีน้ำตาล น้ำตาลปนแดง และน้ำตาลปนเหลือง การ
                       ระบายน้ำดี พบเศษหินปะปนในหนาตัดดินหรือบนผิวดิน เชน ชุดดินวังสะพุง (Ws) และชุดดินลี้ (Li) เปนตน

                               (3)  พัฒนาจากหินปูน ดินตื้นถึงชั้นเศษหินหรือหินพื้น เนื้อดินเปนดินเหนียวละเอียด
                       สีแดง น้ำตาล และน้ำตาลปนแดง การระบายน้ำดี พบเศษหินปะปนในหนาตัดดินหรือบนผิวดิน อาทิ

                       ชุดดินหินซอน (Hs)

                               (4) พัฒนาจากหินอัคนีชนิดหินแกรนิต ดินตื้นถึงชั้นเศษหินหรือหินพื้นถึงดินลึกมาก เนื้อ
                       ดินเปนดินรวนหยาบถึงดินรวนปนชิ้นสวนหยาบมาก สีน้ำตาล น้ำตาลปนแดง ถึงแดง ดินมีการระบาย

                       น้ำดี เชน ชุดดินทับเสลา (Tas) และชุดดินบานไร (Bar) เปนตน
                             4) พื้นที่ลาดชันเชิงซอน เปนพื้นที่ที่มีความลาดชันมากกวารอยละ 35 สวนใหญเปนภูเขา

                       และเทือกเขาสูงสลับซับซอน ทรัพยากรดินมีความแตกตางกันออกไปในแตละพื้นที่

                         1.5  สภาพการใชที่ดิน

                             สภาพการใชประโยชนที่ดินปจจุบันของจังหวัดลำพูน จากฐานขอมูล Agri Map Online

                       รายละเอียดตามตารางที่ 1


                       ตารางที่ 1  สภาพการใชที่ดินปจจุบันของจังหวัดลำพูน

                                                                                   เนื้อที่
                                    ประเภทการใชที่ดิน
                                                                                       ไร      รอยละ
                            พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง                            143,199          5.09
                            พื้นที่เกษตรกรรม                                        913,213        32.40

                                พื้นที่นา                                             162,143            5.74
                                พืชไร                                                179,582            6.38

                                ไมยืนตน                                               30,248            1.07
                                ไมผล                                                 525,571         18.66
                                พืชสวน                                                   9,267            0.32

                                ทุงหญาเลี้ยงสัตวและโรงเรือนเลี้ยงสัตว                           244            0.01
                                สถานที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ำ                                   940            0.03

                                เกษตรผสมผสาน/ไรนาสวนผสม                                    160            0.01
                            พื้นที่ปาไม                                        1,633,678         58.01
                            พื้นที่น้ำ                                               88,294          3.16

                            พื้นที่เบ็ดเตล็ด                                        913,213        32.40
                                          รวม                                    2,816,176       100.00
                       ที่มา: กรมพัฒนาที่ดิน, 2563
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15