Page 9 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดลำพูน
P. 9

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                2








                               (1) สันดินริมน้ำ (Levee) เปนที่ดอน มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด
                       เล็กนอย เกิดจากการทับถมของตะกอนน้ำพาบริเวณริมฝงแมน้ำ เปนสันนูนขนานไปกับริมฝงแมน้ำ

                       ดินลึก เนื้อดินรวนหยาบ สีน้ำตาล สีน้ำตาลปนแดง การระบายน้ำดีปานกลางถึงดี อาทิ ชุดดิน
                       เชียงใหม (Cm)

                             2)  ที่ราบตะกอนน้ำพา (Alluvial plain) เปนบริเวณที่ไดรับอิทธิพลของแมน้ำหรือลำน้ำสาขา

                       วัตถุตนกำเนิดดินเปนตะกอนน้ำพา (Alluvium) มีสภาพพื้นที่เปนที่ราบขนาดใหญสองฝงแมน้ำ แตละฝง
                       อาจมีที่ราบแบบขั้นบันไดหรือตะพักไดหลายระดับ แบงเปน

                               (1) ตะพักลำน้ำระดับต่ำ (Low terrace) เปนที่ลุม มีสภาพพื้นที่ราบเรียบ ดินลึกมาก เนื้อ
                       ดินอาจเปนดินเหนียวละเอียด ดินทรายแปงละเอียดหรือดินรวนหยาบ สีเทา น้ำตาลปนเทา น้ำตาล มีจุด

                       ประสีตางๆ การระบายน้ำคอนขางเลวถึงเลว เชน ชุดดินหางดง (Hd) และชุดดินสันทราย (Sai) เปนตน

                               (2) ตะพักลำน้ำระดับกลางและระดับสูง (Middle and High terrace) เปนที่ดอน มี
                       สภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด ดินตื้นถึงชั้นกรวดลูกรังถึงดินลึกมาก เนื้อดินเปนดิน

                       รวนหยาบ ดินรวนละเอียดหรือดินรวนปนชิ้นสวนหยาบมาก สีน้ำตาล เหลือง น้ำตาลปนแดง

                       ไปจนถึงแดง การระบายน้ำดีปานกลางถึงดี เชน ชุดดินแมริม (Mr) และชุดดินสันปาตอง (Sp) เปนตน
                               (3) เนินตะกอนน้ำพารูปพัด (Alluvial fan) เปนที่ดอน มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบ

                       ถึงลูกคลื่นลอนลาด เปนดินลึกมาก เนื้อดินเปนดินรวนละเอียดถึงดินทรายแปงละเอียด

                       สีน้ำตาล เหลืองจนถึงแดง การระบายน้ำดีปานกลางถึงดี อาทิ ชุดดินกำแพงเพชร (Kp)
                               (4) ลานตะพักปูนมารล (Marl terrace) เปนที่ดอน มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึง

                       ลูกคลื่นลอนลาด เปนดินตื้นถึงชั้นปูนมารลถึงดินลึกมาก เนื้อดินเปนดินเหนียวถึงดินเหนียวปนชิ้นสวน
                       หยาบมาก สีน้ำตาลเขมและดำ การระบายน้ำดี เชน ชุดดินลพบุรี (Lb) และชุดดินตาคลี (Tk) เปนตน

                             3) ที่ลาดเชิงเขา (Piedmont) เขา (Hill) ภูเขา (Mountain) มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่น

                       ลอนลาดถึงเนินเขา ที่เกิดจากการที่หินผุพังสลายตัวอยูกับที่หรือถูกเคลื่อนยายโดยแรงโนมถวงของโลก
                       ในระยะทางใกลๆ และถูกควบคุมดวยลักษณะของโครงสรางทางธรณีวิทยา สวนใหญพบหินปะปนใน

                       หนาตัดดินและลอยหนา แบงตามลักษณะและชนิดของหินดังนี้
                               (1) พัฒนาจากกลุมหินตะกอนหรือหินแปรเนื้อหยาบหรือหินในกลุม สวนใหญเปนหินทราย

                       และหินควอรตไซต ดินตื้นถึงชั้นเศษหินหรือหินพื้นถึงดินลึกปานกลาง เนื้อดินเปนดินรวนหยาบถึง

                       ดินรวนปนชิ้นสวนหยาบมาก สีน้ำตาล น้ำตาลปนเหลือง น้ำตาลปนแดง จนถึงแดง การระบายน้ำดี
                       พบเศษหินปะปนในหนาตัดดินหรือบนผิวดิน เชน ชุดดินทายาง (Ty) และชุดดินลาดหญา (Ly) เปนตน

                               (2) พัฒนาจากกลุมหินตะกอนหรือหินแปรเนื้อละเอียดหรือหินในกลุม สวนใหญเปน

                       พวกหินดินดานและหินฟลไลต ดินตื้นถึงชั้นเศษหินหรือหินพื้นถึงดินลึกปานกลาง เนื้อดินเปน
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14