Page 15 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดลำพูน
P. 15

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                8








                       ตารางที่ 3 (ตอ)

                                                                      เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร)
                          อำเภอ         ประเภทพื้นที่
                                                           S1        S2         S3        N         รวม

                                                          3,347     39,141     2,415     29,511    74,414
                                    พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                         (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)
                                    พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ   3,285   17,569   282      22       21,158
                           แมทา
                                    เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)   (98.15%)   (44.89%)   (11.68%)   (0.07%)   (28.43%)

                                                           62       21,572                         21,634
                                    พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ                     -          -
                                                          (1.85%)   (55.11%)                      (29.07%)
                                                          14,897    157,566    3,360     55,632   231,455
                                    พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                         (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)
                                    พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ   14,897   62,593   1,122   930      79,542
                            ลี้
                                    เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)   (100.00%)   (39.72%)   (33.39%)   (1.67%)   (34.37%)
                                                                    94,973                         94,973
                                    พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ   -                 -          -
                                                                   (60.28%)                       (41.03%)
                                                          10,554    15,690               7,748     26,244
                                    พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน                     -
                                                         (100.00%)   (100.00%)         (100.00%)   (100.00%)
                                    พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ   10,402   9,705                     20,107
                        เวียงหนองรอง                                           -          -
                                    เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)   (98.56%)   (61.85%)                (76.62%)

                                                           152       5,985                         6,137
                                    พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ                     -
                                                          (1.44%)   (38.15%)                      (23.38%)
                                                         139,369    456,340    9,304    351,193   956,206
                                    พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                        (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)
                                    พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ  129,279   181,267   2,631   3,820   316,997
                       รวมทั้งจังหวัด
                                    เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)  (92.76%)   (39.72%)   (28.28%)   (1.09%)   (33.15%)

                                                          10,090    275,073                       285,163
                                    พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ                     -          -
                                                         (7.24%)   (60.28%)                       (29.82%)

                                   ทั้งนี้ ในการสงเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ

                       ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เทานั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูก
                       พืชตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ำก็สามารถเพิ่มผลผลิตได จึงควรสงเสริมในพื้นที่ดังกลาว

                                   เมื่อวิเคราะหขอมูลศักยภาพพื้นที่รวมกับพื้นที่ปลูกพืชในปจจุบัน พบวาพื้นที่ที่ควร

                       สงเสริมใหมีการปรับเปลี่ยนไปปลูกลำไย คือ บริเวณที่เปนพื้นที่ปลูกขาว (S3+N) 18,669 ไร และ
                       พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว (S3+N) 13,652 ไร เนื่องจากยุทธศาสตรยางพาราระยะ 20 ป

                       (พ.ศ. 2560-2579) กำหนดที่จะลดพื้นที่ปลูกยางพาราใหเหลือประมาณ 18.4 ลานไร ดังนั้น จึงควร
                       พิจารณาปลูกพืชเศรษฐกิจชนิดอื่นที่สอดคลองกับความตองการของตลาด ดังตารางที่ 4
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20