Page 17 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดลำพูน
P. 17

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               10








                           2.2  ขาว
                                  ขาวพืชเศรษฐกิจหลักของลำพูนในลำดับที่ 2 จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ

                       Agri-Map Online วิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 5 และภาพที่ 8 - 9)
                                   1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกขาว

                                     ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 150,691 ไร คิดเปนรอยละ 15.76

                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายอยูในอำเภอเมืองลำพูน 86,352 ไร อำเภอบานธิ  28,296  ไร  และ

                       อำเภอปาซาง 18,529 ไร
                                     ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีมีเนื้อที่ 96,916 ไร คิดเปนรอยละ
                       10.13 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายอยูในอำเภอเมืองลำพูน 37,876 ไร อำเภอปาซาง 23,626 ไร


                       และอำเภอแมทา 14,517 ไร
                                     ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 24,990 ไร คิดเปนรอยละ
                       2.61 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายอยูในอำเภอเมืองลี้ 15,408 ไร อำเภอทุงหัวชาง 6,342 ไร

                       และอำเภอเมืองลำพูน 1,083 ไร

                                       ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 683,777 ไร
                                   2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกขาวในปจจุบัน ซึ่งจำแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน ไดดังนี้

                                     (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 61,559 ไร คิดเปนรอยละ 40.85 ของพื้นที่ศักยภาพสูง

                       กระจายอยูในอำเภอเมืองลำพูน 33,224 ไร อำเภอบานธิ 20,110 ไร และอำเภอปาซาง 5,452 ไร
                                     (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 53,719 ไร คิดเปนรอยละ 55.43 ของ

                       พื้นที่ศักยภาพปานกลาง กระจายอยูในอำเภอเมืองลำพูน 18,517 ไร อำเภอแมทา 12,465 ไร และ
                       อำเภอปาซาง 8,712 ไร

                                     (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 24,990 ไร คิดเปนรอยละ 100 ของพื้นที่

                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายอยูในอำเภอลี้ 15,408 ไร อำเภอทุงหัวชาง 6,342 ไร และอำเภอเมือง
                       ลำพูน 1,083 ไร

                                     (4)  พื้นที่ไมเหมาะสม (N) ในการปลูกขาว มีเนื้อที่ 4,990 ไร
                               3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกขาวแตยังไมใชพื้นที่ปลูก

                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสำหรับการปลูกขาว และพื้นที่ปลูกขาวในชั้นความเหมาะสมตาง ๆ

                       (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดลำพูนมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง (S1) และ
                       ความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 132,329 ไร กระจายอยูทั่วทุกอำเภอ โดยอำเภอที่มีพื้นที่

                       ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อำเภอเมืองลำพูน 72,487 ไร รองลงมาไดแก อำเภอปาซาง

                       27,991 ไร อำเภอบานโฮง 14,625 ไร และอำเภอบานธิ 10,475 ไร โดยมีรายละเอียดดังนี้
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22