Page 20 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 20

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               13








                                ทั้งนี้ ในการสงเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับความ
                       เหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เทานั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืชตรงตาม
                       ศักยภาพของดิน การลงทุนต่ําก็สามารถเพิ่มผลผลิตได จึงควรสงเสริมในพื้นที่ดังกลาว
                                เมื่อวิเคราะหขอมูลศักยภาพพื้นที่รวมกับพื้นที่ปลูกพืชในปจจุบัน พบวาพื้นที่ที่ควรพิจารณา

                       ใหมีปรับเปลี่ยนไปปลูกออยโรงงาน คือ บริเวณที่เปนพื้นที่ปลูกขาว (S3+N) 165,098 ไร บริเวณพื้นที่ปลูก
                       ยางพารา (S3) 9,316 ไร และบริเวณพื้นที่ปลูกปาลมน้ํามัน (N) 5,023 ไร (ตารางที่ 6)


                       ตารางที่ 6  พื้นที่มีศักยภาพในการขยายการผลิตออยโรงงาน

                                              ขาว (ไร)             ยางพารา (ไร)        ปาลมน้ํามัน (ไร)
                           อําเภอ
                                       S3        N       รวม      S3      N     รวม     S3     N     รวม
                       เขาคอ           129     143       272      11      -     11        -      -      -
                       ชนแดน         42,717     217    42,934     390      -    390        -    32     32
                       น้ําหนาว           -        -        -       -      -       -       -      -      -
                       บึงสามพัน      7,140      12     7,152       -      -       -       -   106    106
                       เมืองเพชรบูรณ  12,667   3,236   15,903      2      -      2        -   127    127
                       วังโปง       33,116     423    33,539  5,371       -  5,371        -      -      -
                       วิเชียรบุรี    9,387      14     9,401     115      -    115        -   806    806
                       ศรีเทพ        16,314       7    16,321       -      -       -       -  3,065  3,056
                       หนองไผ        6,366     284     6,650      85      -     85        -   647    647
                       หลมเกา      15,628    4,628   20,256  3,342       -  3,342        -      -      -
                       หลมสัก       11,350    1,320   12,670       -      -       -       -   240    240
                           รวม      154,814  10,284  165,098  9,316        -  9,316        -  5,023  5,023


                             4) แนวทางการจัดการ
                               (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนใหเกษตรกร
                       ปลูกออยโรงงานตอไป เนื่องจากเปนพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิตและไดผลผลิตที่มี

                       คุณภาพดี   ซึ่งการปลูกออยโรงงานในพื้นที่ดังกลาวขางตนสามารถนําไปสูการตอยอดโครงการที่สําคัญ
                       ตาง ๆ ได เชน เกษตรอินทรีย ระบบสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ เกษตรแมนยํา เปนตน
                                 พื้นที่ปลูกออยโรงงานในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูก

                       ออยโรงงานในที่ดินที่มีขอจํากัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกออยโรงงาน เชน ความอุดมสมบูรณ
                       ของดิน ความเปนกรดเปนดาง ความชื้น กระจายอยูในอําเภอวิเชียรบุรี อําเภอศรีเทพ  และอําเภอชนแดน
                               (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนใหเขา
                       โครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกวาการปลูกออยโรงงาน มีตนทุนที่ต่ํา

                       และใหผลตอบแทนที่ดีกวา แตทั้งนี้ตองพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25