Page 21 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               14








                         2.3  ขาวโพดเลี้ยงสัตว
                             ขาวโพดเลี้ยงสัตวเปนพืชเศรษฐกิจหลักของเพชรบูรณในลําดับที่ 3 จากฐานขอมูลในแผนที่
                       เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online วิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 7 และภาพที่ 10 - 11)
                             1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว

                                  ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 153,648 ไร คิดเปนรอยละ 3.47 ของ
                       เนื้อที่ศักยภาพของที่ดิน  กระจายตัวมากอยูในอําเภอชนแดน  48,423  ไร  อําเภอศรีเทพ  42,979  ไร
                       และอําเภอบึงสามพัน 29,284 ไร
                                 ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 1,472,387 ไร คิดเปนรอยละ

                       33.27 ของเนื้อที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอวิเชียรบุรี 363,733 ไร อําเภอเมือง
                       เพชรบูรณ 216,081 ไร และอําเภอศรีเทพ 196,808 ไร
                                  ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 792,090  ไร  คิดเปนรอยละ
                       17.90 ของเนื้อที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอชนแดน 258,393 ไร อําเภอวิเชียรบุรี

                       103,668 ไร และอําเภอหนองไผ 101,180ไร
                                   ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 2,006,820 ไร
                               2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสมของ

                       ที่ดิน ไดดังนี้
                                    (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 1,042 ไร คิดเปนรอยละ 0.68 ของพื้นที่ศักยภาพสูง
                       กระจายตัวมากอยูในอําเภอชนแดน 628 ไร อําเภอวิเชียรบุรี 175 ไร และอําเภอบึงสามพัน 109 ไร
                                  (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 189,080 ไร คิดเปนรอยละ 12.84 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองเพชรบูรณ 55,402 ไร อําเภอหนองไผ 49,856 ไร และ

                       อําเภอหลมสัก 21,570 ไร
                                  (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 156,411 ไร คิดเปนรอยละ 19.75 ของพื้นที่
                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอชนแดน 54,428 ไร อําเภอหนองไผ 32,584 ไร และ

                       อําเภอวังโปง 17,636 ไร
                                      (4) พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 119,742 ไร
                                    3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวแตไมใช
                       พื้นที่ปลูก พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว และพื้นที่ปลูกขาวโพด

                       เลี้ยงสัตวในชั้นความเหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดเพชรบูรณมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับ
                       ความเหมาะสมสูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 1,435,913 ไร กระจายอยูในอําเภอตาง ๆ
                       โดยอําเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อําเภอวิเชียรบุรี 380,275 ไร รองลงมา ไดแก
                       อําเภอศรีเทพ 239,672 ไร อําเภอบึงสามพัน 201,756 ไร และอําเภอเมืองเพชรบูรณ 160,999 ไร โดยมี

                       รายละเอียดดังนี้
                                     (1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 152,606 ไร คิดเปนรอยละ 99.32 ของ
                       พื้นที่ศักยภาพสูง พบมากในอําเภอชนแดน 47,795 ไร อําเภอศรีเทพ 42,964 ไร และ อําเภอบึงสามพัน
                       29,175 ไร
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26