Page 24 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 24

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               17








                       ตารางที่ 9 (ตอ)


                                                                     เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร)
                         อําเภอ       ประเภทพื้นที่
                                                          S1        S2         S3         N        รวม

                                                           6,966    141,263    70,910    234,178   453,317
                                 พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                        (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)
                                 พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ   105     21,570    10,900      7,825    40,400
                         หลมสัก
                                 เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)   (1.51%)   (15.27%)   (15.37%)   (3.34%)   (8.91%)
                                                           6,861    119,693                        126,544
                                 พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ                            -         -
                                                         (98.49%)   (84.73%)                       (27.92%)
                                                         153,648  1,472,387   792,090  2,006,820  4,424,945
                                 พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                         รวมทั้ง                       (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)
                         จังหวัด  พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ   1,042   189,080   156,411   119,742   466,275
                                 เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)   (0.68%)  (12.84%)  (19.75%)   (5.97%)  (10.54%)

                                      ทั้งนี้ ในการสงเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
                       ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เทานั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูก

                       พืชตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ําก็สามารถเพิ่มผลผลิตได จึงควรสงเสริมในพื้นที่ดังกลาว
                                   เมื่อวิเคราะหขอมูลศักยภาพพื้นที่รวมกับพื้นที่ปลูกพืชในปจจุบัน พบวาพื้นที่ที่ควร

                       พิจารณาใหมีการปรับเปลี่ยนไปปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว คือ บริเวณที่เปนพื้นที่ปลูกขาว (S3+N)
                       165,098 ไร และยางพารา (S3) 8,944 ไร (ตารางที่ 8)


                       ตารางที่ 10 พื้นที่มีศักยภาพในการขยายการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตว

                                                   ขาว (ไร)                      ยางพารา (ไร)
                           อําเภอ
                                         S3           N         รวม         S3          N         รวม
                        เขาคอ             129        143         272           -          -           -
                        ชนแดน           42,717        217      42,934         11            -        11
                        น้ําหนาว             -           -          -           -          -           -
                        บึงสามพัน        7,140         12       7,152         18            -        18
                        เมืองเพชรบูรณ   12,667      3,236     15,903           -           -          -
                        วังโปง         33,116        423      33,539          2           -           -
                        วิเชียรบุรี      9,387         14       9,401       5,371           -      5,371
                        ศรีเทพ          16,314          7      16,321        115            -       115
                        หนองไผ          6,366        284       6,650           -           -          -
                        หลมเกา        15,628       4,628     20,256         85            -        85
                        หลมสัก         11,350       1,320     12,670       3,342           -      3,342
                            รวม        154,841      10,284    165,098       8,944           -      8,944
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29