Page 17 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดพิจิตร
P. 17

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                               10







                         2.2  ออยโรงงาน
                             ออยโรงงานพืชเศรษฐกิจหลักของพิจิตรในลําดับที่ 2 จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ
                       Agri-Map Online สามารถวิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 5 และภาพที่ 8 - 9)
                              1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกออยโรงงาน
                                 ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 154,096 ไร คิดเปนรอยละ 5.71

                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอโพทะเล 51,619 ไร อําเภอเมืองพิจิตร
                       44,806 ไร และอําเภอตะพานหิน 30,671 ไร
                                 ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 325,055 ไร คิดเปนรอยละ
                       12.05 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอบึงนาราง 76,320 ไร อําเภอสามงาม
                       50,943 ไร และอําเภอโพธิ์ประทับชาง 49,171 ไร

                                 ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 94,879 ไร คิดเปนรอยละ 3.52
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอทับคลอ 36,589 ไร อําเภอบึงนาราง 11,692 ไร
                       และอําเภอวังทรายพูน 9,057 ไร
                                 ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 2,123,048 ไร
                             2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกออยโรงงานในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน

                       ไดดังนี้
                                  (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 4,147 ไร คิดเปนรอยละ 2.69 ของพื้นที่ศักยภาพสูง
                       กระจายตัวมากอยูในอําเภอโพทะเล 2,427 ไร อําเภอตะพานหิน 665 ไร และอําเภอเมืองพิจิตร 616 ไร
                                 (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 74,602 ไร คิดเปนรอยละ 22.95 ของพื้นที่

                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอบึงนาราง 26,339 ไร อําเภอสามงาม 20,758 ไร
                       และอําเภอโพธิ์ประทับชาง 13,054 ไร
                                 (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 41,860 ไร คิดเปนรอยละ 44.12 ของพื้นที่ศักยภาพ
                       เล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอบึงนาราง 11,692 ไร อําเภอโพธิ์ประทับชาง 6,489 ไร และอําเภอ

                       สามงาม 5,349 ไร
                                 (4) พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 8 ไร

                             3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกออยโรงงานแตไมใชพื้นที่ปลูก
                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกออยโรงงาน และพื้นที่ปลูกออยโรงงาน
                       ในชั้นความเหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดพิจิตรมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความ

                       เหมาะสมสูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 400,402 ไร กระจายอยูในอําเภอตาง ๆ
                       โดยอําเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อําเภอโพทะเล 85,995 ไร อําเภอเมืองพิจิตร
                       58,000 ไร อําเภอบึงนาราง 52,606 ไร และอําเภอโพธิ์ประทับชาง 48,390 ไร โดยมีรายละเอียดดังนี้

                                 (1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 149,949 ไร คิดเปนรอยละ 97.31 ของพื้นที่
                       ศักยภาพสูง พบมากในอําเภอโพทะเล 49,192 ไร อําเภอเมืองพิจิตร 44,190 ไร อําเภอตะพานหิน 30,006 ไร
                                 (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลางคงเหลือ (S2) มีเนื้อที่ 250,453 ไร คิดเปนรอยละ 77.05 ของ
                       พื้นที่ศักยภาพปานกลาง พบมากในอําเภอบึงนาราง 49,981 ไร อําเภอโพทะเล 36,803 ไร

                       อําเภอโพธิ์ประทับชาง 36,117 ไร
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22