Page 20 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดพิจิตร
P. 20

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                               13







                       ตารางที่ 5  (ตอ)

                                                                     เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร)
                          อําเภอ       ประเภทพื้นที่
                                                         S1        S2         S3         N         รวม
                                                                    18,219      8,463     82,652    109,334
                                พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน       -
                                                                  (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)
                                 พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ           1,451      1,709                 3,160
                        สากเหล็ก                              -                               -
                                 เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)          (7.96%)    (20.19%)              (2.89%)
                                                                    16,768                           16,768
                                 พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ      -                    -          -
                                                                   (92.04%)                        (15.34%)
                                                          4,761     50,943      5,349    166,584    227,637
                                 พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                       (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)
                                 พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ  244     20,758      5,349                26,351
                        สามงาม   เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)   (5.12%)   (40.75%)   (100.00%)   -    (11.58%)

                                                          4,517     30,185                           34,702
                                 พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ                           -          -
                                                        (94.88%)   (59.25%)                        (15.24%)
                                                        154,096    325,055    94,879    2,123,048  2,697,078
                                 พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                      (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)   (100.00%)  (100.00%)
                                 พื้นที่เพาะปลูกในชั้น    4,147     74,602    41,860          8    120,617
                         รวมทั้ง  ความเหมาะสมตาง ๆ
                         จังหวัด   (ปลูกจริง)           (2.69%)   (22.95%)   (44.12%)    (0.01%)   (4.47%)

                                                        149,949    250,453                         400,402
                                 พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ                           -           -
                                                       (97.31%)   (77.05%)                        (14.85%)

                                   ทั้งนี้ ในการสงเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ

                       ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เทานั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืช
                       ตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ําก็สามารถเพิ่มผลผลิตได จึงควรสงเสริมในพื้นที่ดังกลาว
                                   เมื่อวิเคราะหขอมูลศักยภาพพื้นที่รวมกับพื้นที่ปลูกพืชในปจจุบัน พบวา พื้นที่ที่ควร
                       พิจารณาใหมีการปรับเปลี่ยนไปปลูกออยโรงงาน คือ บริเวณที่เปนพื้นที่ปลูกขาว (S3) 14,957 ไร

                       (ตารางที่ 6)
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25