Page 12 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดพิจิตร
P. 12

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                                5









                               1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกขาว
                                   ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 1,971,113 ไร คิดเปนรอยละ 73.06
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองพิจิตร 260,263 ไร อําเภอตะพานหิน
                       237,625 ไร และอําเภอโพทะเล 230,239 ไร

                                   ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 184,779 ไร คิดเปนรอยละ
                       6.85 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอทับคลอ 43,524 ไร อําเภอบึงนาราง
                       26,964 ไร และอําเภอสากเหล็ก 23,639 ไร
                                   ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 14,906 ไร คิดเปนรอยละ 0.55

                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอโพทะเล 7,215 ไร อําเภอตะพานหิน 3,066 ไร
                       และอําเภอเมืองพิจิตร 2,204 ไร
                                   ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 527,159 ไร

                               2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกขาวในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน ไดดังนี้
                                   (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 1,776,190 ไร คิดเปนรอยละ 90.11 ของพื้นที่

                       ศักยภาพสูง กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองพิจิตร 234,864 ไร อําเภอตะพานหิน 218,282 ไร และ
                       อําเภอบางมูลนาก 214,291 ไร
                                   (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 171,260 ไร คิดเปนรอยละ 92.68 ของพื้นที่

                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอทับคลอ 38,305 ไร อําเภอบึงนาราง 26,964 ไร และ
                       อําเภอวชิรบารมี 20,610 ไร
                                   (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 14,906 ไร คิดเปนรอยละ 100.00 ของพื้นที่
                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอโพทะเล 7,215 ไร อําเภอตะพานหิน 3,066 ไร
                       และอําเภอเมืองพิจิตร 2,204 ไร

                                   (4) พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 10,268 ไร

                               3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกขาวแตยังไมใชพื้นที่ปลูก
                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกขาว และพื้นที่ปลูกขาวในชั้นความเหมาะสมตาง ๆ
                       (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดพิจิตรมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง (S1) และ

                       ความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 208,442 ไร กระจายอยูอําเภอตาง ๆ โดยอําเภอที่มีพื้นที่
                       ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อําเภอบึงนาราง 29,274 ไร รองลงมา อําเภอเมืองพิจิตร 25,635 ไร
                       อําเภอโพธิ์ประทับชาง 23,798 ไร และอําเภอโพทะเล 22,626 ไร โดยมีรายละเอียดดังนี้
                                   (1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 194,923 ไร คิดเปนรอยละ 9.89 ของพื้นที่

                       ศักยภาพสูง พบมากในอําเภอบึงนาราง 29,274 ไร อําเภอเมืองพิจิตร 25,399 ไร และอําเภอ
                       โพธิ์ประทับชาง 23,575 ไร
                                   (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลางคงเหลือ (S2) มีเนื้อที่ 13,519 ไร คิดเปนรอยละ 7.32 ของ
                       พื้นที่ศักยภาพปานกลาง พบมากในอําเภอสากเหล็ก 5,414 ไร อําเภอทับคลอ 5,219 ไร และอําเภอ

                       ดงเจริญ 1,190 ไร
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17