Page 15 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดพิจิตร
P. 15
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
8
ตารางที่ 3 (ตอ)
เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร)
อําเภอ ประเภทพื้นที่
S1 S2 S3 N รวม
58,463 23,639 604 26,684 109,390
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 50,077 18,225 604 240 69,146
สากเหล็ก
เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) (85.66%) (77.1%) (100.00%) (0.99%) (63.21%)
8,386 5,414 13,800
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(14.34%) (22.90%) (12.62%)
160,220 19,868 47,656 227,744
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน -
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 147,185 19,335 166,520
สามงาม เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) (91.86%) (97.32%) - - (73.12%)
13,035 533 13,568
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(8.14%) (2.68%) (5.96%)
1,971,113 184,779 14,906 527,159 2,697,957
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้น 1,776,190 171,260 14,906 10,268 1,972,624
รวมทั้ง ความเหมาะสมตาง ๆ
จังหวัด (90.11%) (92.68%) (100.00%) (1.95%) (73.12%)
(ปลูกจริง)
194,923 13,519 208,442
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(9.89%) (7.32%) (7.73%)
ทั้งนี้ ในการสงเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เทานั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูก
พืชตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ําก็สามารถเพิ่มผลผลิตได จึงควรสงเสริมในพื้นที่ดังกลาว
เมื่อวิเคราะหขอมูลศักยภาพพื้นที่รวมกับพื้นที่ปลูกพืชในปจจุบัน พบวา พื้นที่ที่ควร
พิจารณาใหมีการปรับเปลี่ยนไปปลูกขาวได คือ บริเวณที่เปนพื้นที่ปลูกออยโรงงาน (S3) 40,756 ไร พื้นที่
ปลูกมันสําปะหลัง (S3) 7,937 ไร และเปนพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว (S3) 6,144 ไร แตเนื่องจาก
นโยบายของคณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการขาวตองการรักษาดุลภาพผลผลิตขาว ดังนั้น จึงควร
พิจารณาปลูกพืชเศรษฐกิจชนิดอื่นที่สอดคลองกับความตองการของตลาด (ตารางที่ 4)