Page 22 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดพิจิตร
P. 22

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                               15







                         2.3  มันสําปะหลัง
                             มันสําปะหลังพืชเศรษฐกิจหลักของพิจิตรในลําดับที่ 3 จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก
                       หรือ Agri-Map Online วิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 7 และภาพที่ 10 - 11)
                                1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกมันสําปะหลัง

                                   ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 264,026 ไร คิดเปนรอยละ 9.79 ของ
                       พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอโพทะเล 57,619 ไร อําเภอบึงนาราง 47,262 ไร
                       และอําเภอเมืองพิจิตร 42,282 ไร
                                   ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 221,980 ไร คิดเปนรอยละ

                       8.23 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอโพทะเล 34,786 ไร อําเภอวชิรบารมี
                       34,782 ไร และอําเภอบึงนาราง 31,589 ไร
                                   ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 41,556 ไร คิดเปนรอยละ
                       1.54 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอทับคลอ 16,520 ไร อําเภอวังทรายพูน

                       7,415 ไร และอําเภอสากเหล็ก 6,840 ไร
                                   ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 2,170,384 ไร

                                2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกมันสําปะหลังในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสมของ
                       ที่ดิน ไดดังนี้
                                   (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 10,629 ไร คิดเปนรอยละ 4.03 ของพื้นที่ศักยภาพสูง

                       กระจายตัวมากอยูในอําเภอโพทะเล 6,509 ไร อําเภอบึงนาราง 1,614 ไร และอําเภอโพธิ์ประทับชาง
                       889 ไร
                                   (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 9,595 ไร คิดเปนรอยละ 4.32 ของพื้นที่

                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอสามงาม 2,149 ไร อําเภอวชิรบารมี 1,755 ไร และ
                       อําเภอโพธิ์ประทับชาง 1,657 ไร
                                   (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 12,425 ไร คิดเปนรอยละ 29.9 ของพื้นที่
                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอทับคลอ 4,123 ไร อําเภอโพทะเล 2,117 ไร และ

                       อําเภอบึงนาราง 2,058 ไร
                                   (4) พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 46 ไร

                                3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกมันสําปะหลังแตไมใชพื้นที่ปลูก
                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกมันสําปะหลัง และพื้นที่ปลูกมันสําปะหลังใน
                       ชั้นความเหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดพิจิตรมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง (S1)

                       และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 465,782 ไร กระจายอยูอําเภอตาง ๆ โดยอําเภอที่มี
                       พื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อําเภอโพทะเล 84,316 ไร รองลงมา อําเภอบึงนาราง 76,204 ไร
                       อําเภอเมืองพิจิตร 58,575 ไร และอําเภอโพธิ์ประทับชาง 57,864 ไร ตามลําดับ
                                     (1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 253,397 ไร คิดเปนรอยละ 95.97

                       ของพื้นที่ศักยภาพสูง พบมากในอําเภอโพทะเล 51,110 ไร อําเภอบึงนาราง 45,648 ไร อําเภอ
                       เมืองพิจิตร 41,866 ไร
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27