Page 16 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดพิจิตร
P. 16
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
9
ตารางที่ 4 พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตขาว
ออยโรงงาน (ไร) มันสําปะหลัง (ไร) ขาวโพดเลี้ยงสัตว (ไร)
อําเภอ
S3 N รวม S3 N รวม S3 N รวม
ดงเจริญ 2,076 - 2,076 133 - 133 - 385 385
ตะพานหิน 1,571 - 1,571 16 - 16 - 1,181 1,181
ทับคลอ 1,627 - 1,627 768 - 768 - 279 279
บางมูลนาก 565 - 565 - - - 94 94
บึงนาราง 11,732 - 11,732 2,065 - 2,065 - 1,309 1,309
โพทะเล 3,476 - 3,476 2,123 - 2,123 - 1,124 1,124
โพธิ์ประทับชาง 6,512 - 6,512 1,146 - 1,146 - 1,496 1,496
เมืองพิจิตร 2,223 - 2,223 3 - 3 - 94 94
วชิรบารมี 2,243 - 2,243 508 - 508 - 34 34
วังทรายพูน 1,665 - 1,665 18 - 18 - 10 10
สากเหล็ก 1,698 - 1,698 70 - 70 - 36 36
สามงาม 5,368 - 5,368 1,081 - 1,081 - 102 102
รวม 40,756 - 40,756 7,931 - 7,931 - 6,144 6,144
4) แนวทางการจัดการ
(1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนใหเกษตรกร
ปลูกขาวตอไปเนื่องจากเปนพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิตและไดผลผลิตที่มีคุณภาพดี
ซึ่งการปลูกขาวในพื้นที่ดังกลาวขางตนสามารถนําไปสูการตอยอดโครงการที่สําคัญตาง ๆ ได เชน เกษตรอินทรีย
ระบบสงเสริมการเกษตรแปลงใหญ เกษตรแมนยํา เปนตน
พื้นที่ปลูกขาวในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูกขาวในที่ดินที่ไมมี
ขอจํากัดทางกายภาพตอการปลูกขาว ซึ่งควรสงวนไวเปนแหลงปลูกขาวที่สําคัญของจังหวัด
กระจายอยูในอําเภอเมืองพิจิตร อําเภอตะพานหิน และอําเภอบางมูลนาก
พื้นที่ปลูกขาวในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูกขาวในที่ดินที่มี
ขอจํากัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกขาว เชน ความอุดมสมบูรณของดิน ความเปนกรดเปนดาง
และแหลงน้ํา กระจายอยูในอําเภอทับคลอ อําเภอบึงนาราง และอําเภอวชิรบารมี
(2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให
เขาโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต อาทิ ทําการเกษตรผสมผสานหรือพืชที่ใหผลตอบแทนสูงกวา โดย
พิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย