Page 9 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดพิจิตร
P. 9
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
2
2) ที่ราบตะกอนน้ําพา (Alluvial plain) เปนบริเวณที่ไดรับอิทธิพลของแมน้ําหรือลําน้ําสาขา
วัตถุตนกําเนิดดินเปนตะกอนน้ําพา (Alluvium) มีสภาพพื้นที่เปนที่ราบขนาดใหญสองฝงแมน้ํา แตละฝง
อาจมีที่ราบแบบขั้นบันไดหรือตะพักไดหลายระดับ แบงเปน
(1) ตะพักลําน้ําระดับต่ํา (Low terrace) เปนที่ลุมมีสภาพพื้นที่ราบเรียบ ดินลึกมาก
เนื้อดินอาจเปนดินเหนียวละเอียดถึงดินทรายแปงละเอียด สีเทา น้ําตาลปนเทา และน้ําตาล มีจุดประสีตาง ๆ
การระบายน้ําคอนขางเลวถึงเลว เชน ชุดดินสุโขทัย (Skt) ชุดดินโพทะเล (Plo) ชุดดินพิจิตร (Pic) เปนตน
(2) ตะพักลําน้ําระดับกลางและระดับสูง (Middle and High terrace) เปนที่ดอน
มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด ดินตื้นถึงชั้นกรวดลูกรังถึงดินลึกมาก เนื้อดินเปน
ดินรวนหยาบ ดินรวนละเอียดหรือดินรวนปนชิ้นสวนหยาบมาก สีน้ําตาล เหลือง น้ําตาลปนแดง
ไปจนถึงแดง การระบายน้ําดีปานกลางถึงดี เชน ชุดดินชนแดน (Cdn) ชุดดินดอนไร (Dr) เปนตน
(3) เนินตะกอนน้ําพารูปพัด (Alluvial fan) เปนที่ดอน มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึง
ลูกคลื่นลอนลาด เปนดินลึกมาก เนื้อดินเปนดินรวนหยาบถึงดินทรายแปงละเอียด สีน้ําตาลเหลือง
จนถึงแดง การระบายน้ําดีปานกลางถึงดี เชน ชุดดินกําแพงเพชร (Kp) ชุดดินไทรงาม (Sg) เปนตน
3) ที่ลาดเชิงเขา (Piedmont) เขา (Hill) ภูเขา (Mountain) มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่น
ลอนลาดถึงเนินเขา ที่เกิดจากการที่หินผุพังสลายตัวอยูกับที่หรือถูกเคลื่อนยายโดยแรงโนมถวงของโลก
ในระยะทางใกล ๆ และถูกควบคุมดวยลักษณะของโครงสรางทางธรณีวิทยา สวนใหญพบหินปะปนใน
หนาตัดดินและลอยหนา แบงตามลักษณะและชนิดของหินดังนี้
(1) พัฒนาจากกลุมหินอัคนีหรือหินในกลุม ดินตื้นถึงชั้นเศษหิน เนื้อดินเปนดินรวน
ปนชิ้นสวนหยาบมาก สีแดง น้ําตาล น้ําตาลปนเหลือง และน้ําตาลปนแดง การระบายน้ําดี อาทิ ชุดดินแกง
คอย (Kak)
(2) พัฒนาจากหินไรโอไลต ดินตื้นถึงชั้นเศษหิน เนื้อดินเปนดินรวนปนชิ้นสวนหยาบมาก
สีน้ําตาล น้ําตาลปนเหลือง และน้ําตาลปนแดง ดินมีการระบายน้ําดี อาทิ ชุดดินไพศาลี (Phi)
4) พื้นที่ลาดชันเชิงซอน เปนพื้นที่ที่มีความลาดชันมากกวารอยละ 35 สวนใหญจะเปน
ภูเขาและเทือกเขาสูงสลับซับซอน ทรัพยากรดินมีความแตกตางกันออกไปในแตละพื้นที่
ซึ่งไดแสดงรายละเอียดของชุดดินที่พบมากของจังหวัดพิจิตร ในภาพที่ 1 - 5
1.5 สภาพการใชที่ดิน
สภาพการใชที่ดินปจจุบันของจังหวัดพิจิตร จากฐานขอมูลแผนที่สภาพการใชที่ดิน
ของกรมพัฒนาที่ดิน (ตารางที่ 1)