Page 35 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดนครสวรรค์
P. 35

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               28








                                ทั้งนี้ ในการสงเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
                       ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เทานั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูก
                       พืชตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ําก็สามารถเพิ่มผลผลิตได จึงควรสงเสริมในพื้นที่ดังกลาว
                                เมื่อวิเคราะหขอมูลศักยภาพพื้นที่รวมกับพื้นที่ปลูกพืชในปจจุบัน พบวาพื้นที่ที่ควร

                       พิจารณาใหมีการปรับเปลี่ยนไปปลูกปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว คือ บริเวณที่เปนพื้นที่ปลูกขาว (S3+N)
                       169,635 ไร และพื้นที่ปลูกออยโรงงาน (S3) 122,804 ไร และพื้นที่ปลูกมันสําปะหลัง (S3) 7,664 ไร
                       (ตารางที่ 10)


                       ตารางที่ 10  พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตว

                                               ขาว (ไร)          ออยโรงงาน (ไร)      มันสําปะหลัง (ไร)
                            อําเภอ
                                         S3      N      รวม       S3     N     รวม      S3    N     รวม
                        เมืองนครสวรรค   11,525   206  11,731    15,124   -  15,124     191    -     191

                        แมวงก             -       -        -        -   -        -      2    -       2
                        ไพศาลี         36,525     52  36,577          -   -        -      6    -       6
                        ชุมตาบง         3,512    121    3,633         -   -        -      1    -       1

                        ตากฟา          2,508     32    2,540    13,923   -  13,923  3,225     -    3,225
                        ตาคลี          10,571       -  10,571    17,084   -  17,084  1,276     -    1,276

                        ทาตะโก        15,296       -  15,296         -   -        -       -   -       1
                        บรรพตพิสัย        200    316      516      397    -      397    304    -     304

                        พยุหะคีรี           -       -        -   71,549   -  71,549  2,501     -    2,501
                        ลาดยาว          5,527  1,008    6,535     4,727   -    4,727    157    -     157
                        หนองบัว             -       -        -        -   -        1      1    -       1

                             รวม       85,664  1,735  87,399  122,804     -  122,805  7,664    -    7,665


                              4) แนวทางการจัดการ
                                (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนใหเกษตรกร
                       ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวตอไปเนื่องจากเปนพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิตและไดผลผลิต

                       ที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในพื้นที่ดังกลาวขางตนสามารถนําไปสูการตอยอดโครงการ
                       ที่สําคัญตาง ๆ ได เชน เกษตรอินทรีย ระบบสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ เกษตรแมนยํา เปนตน
                                   พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูก
                       ขาวโพดเลี้ยงสัตวในที่ดินที่ไมมีขอจํากัดทางกายภาพตอการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว ซึ่งควรสงวนไวเปน

                       แหลงปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวที่สําคัญของจังหวัด โดยกระจายอยูในอําเภอบรรพตพิสัย อําเภอแมวงก
                       และอําเภอหนองบัว
                                  พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูก
                       ขาวโพดเลี้ยงสัตวในที่ดินที่มีขอจํากัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว เชน
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40