Page 30 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดนครสวรรค์
P. 30

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               23








                         2.4  ขาวโพดเลี้ยงสัตว
                              ขาวโพดเลี้ยงสัตว เปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญของจังหวัดนครสวรรค โดยเปนแหลงปลูกขาวโพด
                       ที่ใหญเปนที่สองในภาคเหนือ รองจากจังหวัดเพชรบูรณ จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ
                       Agri-Map Online วิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 9 และภาพที่ 12 - 13)

                              1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว
                                ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 85,627 ไร คิดเปนรอยละ 1.63
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอบรรพตพิสัย 49,840 ไร อําเภอหนองบัว
                       12,776 ไร และอําเภอแมวงก 8,661 ไร

                                ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 1,590,480 ไร คิดเปนรอยละ
                       30.29 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอพยุหะคีรี 241,129 ไร อําเภอตากฟา
                       232,476 ไร และอําเภอตาคลี 207,998 ไร
                                ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 481,814 ไร คิดเปนรอยละ 9.17

                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอไพศาลี 133,502 ไร อําเภอแมวงก 88,098 ไร และ
                       อําเภอลาดยาว 80,685 ไร
                                ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 3,093,193 ไร

                              2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสม
                       ของที่ดิน ไดดังนี้
                                (1)  พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 1,521 ไร คิดเปนรอยละ 1.78 ของพื้นที่ศักยภาพสูง
                       กระจายตัวมากอยูในอําเภอบรรพตพิสัย 882 ไร อําเภอแมวงก 475 ไร และอําเภอหนองบัว 93 ไร
                                (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 175,208 ไร คิดเปนรอยละ 11.02 ของพื้นที่

                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอตากฟา 60,152 ไร อําเภอตาคลี 37,770 ไร และอําเภอ
                       แมวงก 15,987 ไร
                                (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 28,627 ไร คิดเปนรอยละ 5.94 ของพื้นที่

                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอแมวงก 12,609 ไร อําเภอชุมตาบง 5,100 ไร และอําเภอ
                       แมเปน 4,472 ไร
                                (4)  พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 24,111 ไร
                              3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวแตยังไมใช

                       พื้นที่ปลูก พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว และพื้นที่ปลูกขาวโพด
                       เลี้ยงสัตวในชั้นความเหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดนครสวรรคมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือใน
                       ระดับความเหมาะสมสูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 1,499,378 ไร กระจายอยู
                       อําเภอตาง ๆ โดยอําเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อําเภอพยุหะคีรี 227,030 ไร

                       รองลงมาไดแก อําเภอตาคลี 174,813 ไร และอําเภอแมวงก 174,530 ไร โดยมีรายละเอียดดังนี้
                                (1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 84,106 ไร คิดเปนรอยละ 98.22 ของพื้นที่
                       ศักยภาพสูง พบมากในอําเภอบรรพตพิสัย 48,958 ไร อําเภอหนองบัว 12,683 ไร และอําเภอแมวงก
                       8,186 ไร
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35