Page 38 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดนครสวรรค์
P. 38

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               31








                       เกษตรกรโดยแนะนําวาไมควรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่น หากขาวราคาไมดีและตองการปรับเลี่ยน
                       การผลิตควรเปนพืชไร เพื่อในอนาคตยังสามารถกลับมาทํานาไดอีก
                           3) พื้นที่ปลูกขาวที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบันเกษตรกรยังคงใชที่ดินปลูก

                       ขาวอยู มีประมาณ 357,216 ไร ซึ่งประสบปญหาน้ําทวมซ้ําซาก ขาดน้ํา ผลผลิตต่ํา กระทรวงเกษตร
                       และสหกรณใหการชวยเหลือเกษตรกรที่ทํากินในพื้นที่นี้ เนื่องจากเปนพื้นที่ไมเหมาะสม โดยสนับสนุน

                       การปรับโครงสรางที่ดิน ปรับปรุงบํารุงดิน สนับสนุนแหลงน้ํา ใหเกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิดใหม
                       ที่มีความเหมาะสม และใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตอาหารเพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือ

                       เขาโครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) เปนตน
                           4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกขาว แตปจจุบันเกษตรกรไมไดใช

                       พื้นที่ปลูกขาว โดยมาปลูกพืชชนิดอื่นทดแทน ทั้งนี้หากพืชที่ปลูกเปนพืชไร เชน ออยโรงงาน
                       มันสําปะหลัง ขาวโพดเลี้ยงสัตว เปนตน ในอนาคตขาวราคาดี เกษตรกรอาจกลับมาปลูกขาว
                       ไดเหมือนเดิม แตหากเปนไมผลหรือไมยืนตน การกลับมาปลูกขาวอาจเปนเรื่องยาก ดังนั้นอาจสงเสริม

                       ในเรื่องของการทําเกษตรรูปแบบอื่น เชน เกษตรผสมผสาน

                         4.2  ออยโรงงาน
                              1) พื้นที่ปลูกออยโรงงานที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกออยโรงงานอยู

                       มีเนื้อที่ 24,638 ไร มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอําเภอบรรพตพิสัย อําเภอเกาเลี้ยว และกระจายตัวในพื้นที่
                       เล็ก ๆ ในอําเภอแมเปน อําเภอชุมแสง อําเภอชุมตาบง ตามแผนยุทธศาสตรสํานักงานคณะกรรมการ

                       ออยและน้ําตาลทราย พ.ศ. 2560-2564 มียุทธศาสตร สงเสริม สนับสนุนการวิจัย การบริหารจัดการ
                       และการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตอุตสาหกรรม ออยน้ําตาลทราย และอุตสาหกรรม เนนใหมีการ

                       เพิ่มผลผลิตออยโรงงานในพื้นที่ที่มีศักยภาพสูง แตเนนการลดตนทุนผลผลิต ทั้งนี้ควรสงเสริมให
                       เกษตรกรใชปุยอินทรียแบบคุณภาพสูง มีการเก็บเกี่ยวผลผลิตโดยการรณรงคลดการเผาตอซังเพื่อเพิ่ม

                       ผลผลิตและลดปญหาภาวะโลกรอน หนวยงานที่เกี่ยวของคิดคนเทคโนโลยีการเก็บเกี่ยวโดยใช
                       เครื่องจักรเพื่อลดปญหาแรงงาน สงเสริมใหเกษตรกรรวมกลุมและเขารวมโครงการเกษตรแปลงใหญ
                       จัดหาปจจัยการผลิตใหกับเกษตรกร และอบรมใหความรูแกเกษตรกรที่มีการปรับปรุงบํารุงดินโดยลด

                       ตนทุนการผลิต สงเสริมใหมีการปลูกออยโรงงานที่มีสายพันธุตานทานโรค สรางความตระหนักและ
                       ความรูความเขาใจใหกับเกษตรกรที่มีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง ในการปลูกออยโรงงาน เพื่อแกไขปญหา

                       การปรับเปลี่ยนพื้นที่
                              2)  พื้นที่ปลูกออยโรงงานที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกออยโรงงานอยู มี

                       เนื้อที่ 606,044 ไร สวนใหญอยูในเขตอําเภอตาคลี อําเภอตากฟา และอําเภอพยุหะคีรี เกษตรกรยังคง
                       ปลูกออยโรงงานไดผลดี หลายแหงประสบปญหาขาดน้ําในบางชวงของการเพาะปลูก ดังนั้น

                       ควรมีการพัฒนาศักยภาพของพื้นที่ใหมากขึ้น ในเรื่องของคุณภาพดิน และการบริหารจัดการน้ํา
                       ใหมีเพียงพอและเหมาะสมตอการเพาะปลูก สรางความรูความเขาใจใหกับเกษตรกรในการจัดการพื้นที่
                       การปลูก การดูแลรักษา และการเก็บเกี่ยว สงเสริมการเพิ่มมูลคาของเสียจากโรงงานน้ําตาล และการ
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43