Page 37 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดนครสวรรค์
P. 37

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               30








                       ที่ไดรับความสนใจ เนื่องจากเปนแหลงของสารสําคัญที่นําไปใชประโยชนในดานตาง ๆ เชน การแพทย
                       ผลิตภัณฑเสริมอาหาร และเครื่องสําอาง จึงสนับสนุนใหพืชสมุนไพรเปนพืชทางเลือกในป 2564
                       โดยดําเนินการภายใตตลาดนําการผลิต และหากทิศทางของตลาดสมุนไพรขยายตัวเพิ่มมากขึ้นจะชวยให
                       เกษตรกรผูปลูกพืชสมุนไพร มีรายไดและความมั่นคงในการดํารงชีพ จากฐานขอมูล Agri-Map Online

                       จังหวัดนครสวรรค มีพื้นที่ศักยภาพที่สามารถสงเสริมใหปลูกพืชสมุนไพรไดหลายชนิด เชนขมิ้นชัน บัวบก
                       เปนตน
                                ขมิ้นชันเปนพืชปลูกงาย ชอบแสงแดดจัด และมีความชื้นสูง ชอบดินรวนซุย มีการระบาย
                       น้ําดี ไมชอบน้ําขัง เกษตรกรสามารถปลูกขมิ้นชันแซมในสวนเปนการใชพื้นที่ใหเกิดประโยชน และมี

                       รายไดระหวางรอการเติบโตของยางพาราหรือปาลมน้ํามัน โดยพื้นที่จังหวัดนครสวรรคมีพื้นที่ศักยภาพใน
                       การปลูกขมิ้นชันที่ระดับความเหมาะสมสูง (S1) ประมาณ 275,329 ไร
                             บัวบก ขยายพันธุไดโดยใชเมล็ด และใชลําตนหรือที่เรียกวาไหล บัวบกสามารถขึ้นไดดีทั้งใน
                       ที่รม และที่โลงแจง แตจะเจริญเติบโตไดดีในดินที่มีความอุดมสมบูรณและมีความชื้นในดินพอเหมาะ

                       ในกรณีที่ตองการปรับปรุงดินควรใสปุยอินทรียหรือปุยคอก ดูแลงาย สามารถปลูกแซมระหวางแปลง
                       โดยพื้นที่จังหวัดนครสวรรค มีพื้นที่ศักยภาพในการปลูกบัวบกที่ระดับความเหมาะสมสูง (S1) ประมาณ
                       29,154 ไร

                       4  แนวทางการสงเสริมการปลูกพืชเศรษฐกิจ


                         4.1  ขาว
                              1) พื้นที่ปลูกขาวที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกขาวอยู มีเนื้อที่ 1,871,498 ไร
                       อยูในเขตอําเภอทาตะโก อําเภอบรรพตพิสัย อําเภอชุมแสง อําเภอหนองบัว อําเภอเมืองนครสวรรค

                       อําเภอไพศาลี อําเภอลาดยาว อําเภอตาคลี อําเภอเกาเลี้ยว อําเภอพยุหะคีรี อําเภอโกรกพระ อําเภอแม
                       วงก และกระจายตัวในพื้นที่เล็ก ๆ ในอําเภอชุมตาบง อําเภอแมเปน โดยตั้งอยูในเขตชลประทาน 11

                       อําเภอ ทั้งนี้คณะอนุกรรมการพัฒนาที่ดินจังหวัดสมควรใหมีการเสนอแผนการใชที่ดินเพื่อสงวนใหเปน
                       แหลงผลิตขาวที่สําคัญของจังหวัด และมีการบริหารจัดการน้ําชลประทาน การจัดการดิน ปุย พันธุขาว

                       โดยรวมกลุมเปนเกษตรแปลงใหญ พัฒนาตอยอดครบวงจรการตลาดในและตางประเทศการแปรรูป
                       แหลงทุน มีภาครัฐสนับสนุนการทํามาตรฐานสินคาเกษตรอินทรีย และการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี

                       (Good Agricultural Practices: GAP) และเนื่องจากเปนพื้นที่ศักยภาพสูง การปลูกพืชหลังนาจะชวยให
                       เกษตรกรมีรายไดเพิ่มขึ้น และเปนการปรับปรุงบํารุงดิน
                              2) พื้นที่ปลูกขาวที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกขาวอยู มีเนื้อที่มาก

                       ถึง  355,396 ไร กระจายตัวอยูในทุกอําเภอของจังหวัดนครสวรรค เปนพื้นที่ปลูกขาวที่มีขอจํากัดไมมากนัก
                       เกษตรกรยังคงปลูกขาวไดผลดี หลายแหงประสบปญหาขาดน้ําในบางชวงของการเพาะปลูก

                       ควรสนับสนุนดานการบริหารจัดการน้ํา เชน ชลประทาน จะสรางความมั่นใจใหกับเกษตรกรในการใช
                       ที่ดิน ปญหาการทิ้งถิ่นฐานไปทํางานที่อื่นจะลดลง และพื้นที่ในเขตนี้มีความเหมาะสมสําหรับการเกษตร
                       แบบผสมผสาน เกษตรแมนยําหรือเกษตรทฤษฎีใหม เปนตน และภาครัฐควรใหความรูความเขาใจกับ
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42