Page 21 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดลำปาง
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                               14







                           2.3  มันสําปะหลัง
                                  มันสําปะหลังเปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญจังหวัดลําปางลําดับที่ 3 จากฐานขอมูลในแผนที่
                       เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online วิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 7 และภาพที่ 10 - 11)
                                   1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกมันสําปะหลัง

                                     ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 31,596 ไร คิดเปนรอยละ 1.5 ของ
                       พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในเมืองลําปาง 20,589 ไร อําเภอเกาะคา 5,335 ไร และอําเภอ
                       แจหม 2,840 ไร
                                     ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 514,735 ไร คิดเปนรอยละ

                       24.33 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองลําปาง 118,902 ไร อําเภอหางฉัตร
                       69,086 ไร และอําเภอเถิน 58,741 ไร
                                     ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 815,824 ไร คิดเปนรอยละ
                       39.95 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองลําปาง 134,895 ไร อําเภอเถิน

                       117,071 ไร และอําเภอแมทะ 98,632 ไร
                                     ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 821,403 ไร

                                   2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกมันสําปะหลังในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสม
                       ของที่ดิน ไดดังนี้
                                     (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 4 ไร คิดเปนรอยละ 0.01 ของพื้นที่ศักยภาพสูง

                       อยูในอําเภอวังเหนือ 4 ไร
                                     (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 13,711 ไร คิดเปนรอยละ 2.66 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองลําปาง 5,976 ไร อําเภอแมพริก 3,547 ไร และ

                       อําเภอหางฉัตร 1,863 ไร
                                     (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 34,803 ไร คิดเปนรอยละ 4.24 ของพื้นที่
                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองลําปาง 10,169 ไร  อําเภอเกาะคา 6,060 ไร และ
                       อําเภอแมทะ 3,172 ไร

                                     (4)  พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 104 ไร
                                  3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกมันสําปะหลังแตยังไมใชพื้นที่
                       ปลูก พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกมันสําปะหลัง และพื้นที่ปลูกมันสําปะหลังในชั้น
                       ความเหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดลําปางมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง

                       (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 532,616 ไร กระจายอยูในอําเภอตาง ๆ โดยอําเภอที่มี
                       พื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อําเภอเมืองลําปาง 135,298 ไร รองลงมา ไดแก อําเภอหางฉัตร
                       67,223 ไร อําเภอเถิน 57,658 ไร และอําเภอแมทะ 47,605 ไร โดยมีรายละเอียดดังนี้
                                     (1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 31,592 ไร คิดเปนรอยละ 99.99 ของพื้นที่

                       ศักยภาพสูง พบมากในอําเภอเมืองลําปาง 20,589 ไร อําเภอเกาะคา 5,335 ไร และอําเภอวังเหนือ 2,069 ไร
                                     (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลางคงเหลือ (S2) มีเนื้อที่ 501,024 ไร คิดเปนรอยละ 97.34
                       ของพื้นที่ศักยภาพปานกลาง พบมากใน อําเภอเมืองลําปาง 114,709 ไร อําเภอหางฉัตร 67,223 ไร และ

                       อําเภอเถิน 57,628 ไร
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26