Page 20 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดลำปาง
P. 20

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                               13







                       ตารางที่ 6  พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตว

                                                                            ขาว (ไร)
                                    อําเภอ
                                                              S3               N               รวม
                              เกาะคา                          9,469              5              9,474

                              งาว                            13,098           1,606            14,704
                              แจหม                          6,025            211              6,236

                              เถิน                           15,597            584             16,181
                              เมืองปาน                       10,017            171             10,188

                              เมืองลําปาง                    31,055           1,485            32,540

                              แมทะ                          17,311            292             17,603
                              แมพริก                         7,560             59              7,619
                              แมเมาะ                         1,302           2,157             3,459

                              วังเหนือ                        6,363            862              7,225

                              สบปราบ                             52               -                52
                              เสริมงาม                        7,731            605              8,336

                              หางฉัตร                       23,724             46             23,770
                                     รวม                    149,303           8,084           157,387

                             4) แนวทางการจัดการ

                               (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนใหเกษตรกรปลูก
                       ขาวโพดเลี้ยงสัตวตอไป เนื่องจากเปนพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิตและไดผลผลิตที่มี
                       คุณภาพดี ซึ่งการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในพื้นที่ดังกลาวขางตนสามารถนําไปสูการตอยอดโครงการที่สําคัญ

                       ตาง ๆ ได เชน เกษตรอินทรีย ระบบสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ เกษตรแมนยํา เปนตน
                                 พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูกขาวโพด
                       เลี้ยงสัตวในที่ดินที่ไมมีขอจํากัดทางกายภาพตอการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว ซึ่งควรสงวนไวเปนแหลงปลูก
                       ขาวโพดเลี้ยงสัตวที่สําคัญของจังหวัด อยูในพื้นที่อําเภอเมืองลําปาง

                                 พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูก
                       ขาวโพดเลี้ยงสัตวในที่ดินที่มีขอจํากัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว เชน ความอุดม
                       สมบูรณของดิน ความเปนกรดเปนดาง ความชื้น กระจายอยูในอําเภอเมืองลําปาง อําเภอหางฉัตร และ
                       อําเภอเถิน

                               (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุน
                       ใหเขาโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกวาการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว
                       มีตนทุนที่ต่ํา และใหผลตอบแทนที่ดีกวา แตทั้งนี้ตองพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25