Page 16 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดตาก
P. 16

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                                9







                               (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให
                       เขาโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกวาการปลูกขางโพดเลี้ยงสัตว
                       มีตนทุนที่ต่ํา และใหผลตอบแทนที่ดีกวา แตทั้งนี้ตองพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย


                           2.2  ขาว
                                ขาวเปนพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัดตากลําดับที่ 2 จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก
                       หรือ Agri-Map Online วิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 5 และภาพที่ 8 - 9)

                               1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกขาว
                                  ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 56,699 ไร คิดเปนรอยละ 3.75 ของ
                       พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอสามเงา 17,184 ไร อําเภอบานตาก 13,445 ไร
                       และอําเภอเมืองตาก 11,018 ไร

                                  ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 84,921 ไร คิดเปนรอยละ
                       5.61 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอสามเงา 20,493 ไร อําเภอเมืองตาก
                       14,075 ไร และอําเภอแมระมาด 13,724 ไร
                                  ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 133,248 ไร คิดเปนรอยละ

                       8.81 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองตาก 56,913 ไร อําเภอแมสอด
                       32,572 ไร และอําเภอสามเงา 16,904 ไร
                                  ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 1,237,991 ไร

                               2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกขาวในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน ไดดังนี้
                                  (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 32,012 ไร คิดเปนรอยละ 56.46 ของพื้นที่ศักยภาพสูง
                       กระจายตัวมากอยูในอําเภอบานตาก 11,468 ไร อําเภอเมืองตาก 9,826 ไร และอําเภอแมสอด
                       3,609 ไร
                                  (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 47,996 ไร คิดเปนรอยละ 50.63 ของพื้นที่

                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอแมระมาด 13,724 ไร อําเภอแมสอด 12,196 ไร และ
                       อําเภอวังเจา 5,986 ไร
                                  (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 133,248 ไร คิดเปนเนื้อที่ทั้งหมด ของพื้นที่

                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองตาก 56,913 ไร อําเภอแมสอด 32,572 ไร และ
                       อําเภอสามเงา 16,904 ไร
                                  (4)  พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 23,325 ไร
                                3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกขาวแตยังไมใชพื้นที่ปลูก

                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกขาว และพื้นที่ปลูกขาวในชั้นความเหมาะสมตาง ๆ
                       (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดตากมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง (S1) และความเหมาะสม
                       ปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 66,612 ไร กระจายอยูทั่วทุกอําเภอ โดยอําเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือ
                       มากที่สุด ไดแก อําเภอสามเงา 35,609 ไร รองลงมา อําเภอเมืองตาก 12,830 ไร อําเภอบานตาก

                       7,999 ไร และอําเภอแมสอด 4,311 ไร โดยมีรายละเอียดดังนี้
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21