Page 15 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดตาก
P. 15

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                                8







                               ทั้งนี้ ในการสงเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
                       ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เทานั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูก
                       พืชตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ําก็สามารถเพิ่มผลผลิตได จึงควรสงเสริมในพื้นที่ดังกลาว

                               เมื่อวิเคราะหขอมูลศักยภาพพื้นที่รวมกับพื้นที่ปลูกพืชในปจจุบัน พบวาพื้นที่ที่ควร
                       พิจารณาใหมีการปรับเปลี่ยนไปปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว คือ บริเวณที่เปนพื้นที่ปลูกขาว (S3+N)

                       111,988 ไร (ตารางที่ 4)

                       ตารางที่ 4 พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตว

                                                                          ขาว
                                อําเภอ
                                                       S3                  N                  รวม
                               ทาสองยาง                   1,279                 36               1,315
                               บานตาก                    10,121                115              10,236
                               พบพระ                       4,800               2,232              7,032
                               เมืองตาก                   36,308                554              36,862
                               แมระมาด                    6,212               3,441              9,653

                               แมสอด                     32,683               2,352             35,035
                               วังเจา                       200                 12                 212
                               สามเงา                     10,027                 24              10,051
                               อุมผาง                       470               1,122              1,592
                                 รวม                     102,100               9,888            111,988

                              4) แนวทางการจัดการ

                               (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนใหเกษตรกร
                       ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวตอไป เนื่องจากเปนพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิตและไดผลผลิต

                       ที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในพื้นที่ดังกลาวขางตนสามารถนําไปสูการตอยอดโครงการที่
                       สําคัญตาง ๆ ได เชน เกษตรอินทรีย ระบบสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ เกษตรแมนยํา เปนตน
                                 พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูก

                       ขาวโพดเลี้ยงสัตวในที่ดินที่ไมมีขอจํากัดทางกายภาพตอการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว ซึ่งควรสงวนไวเปน
                       แหลงปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวที่สําคัญของจังหวัด กระจายอยูในอําเภอแมสอด อําเภอพบพระ และ

                       อําเภอแมระมาด
                                 พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูก

                       ขาวโพดเลี้ยงสัตวในที่ดินที่มีขอจํากัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว เชน
                       ความอุดมสมบูรณของดิน ความเปนกรดเปนดาง และแหลงน้ํา กระจายอยูในอําเภอแมสอด

                       อําเภอแมระมาด และอําเภอพบพระ
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20