Page 11 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดตาก
P. 11

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                                4







                         1.7  เขตปฏิรูปที่ดิน
                             เขตปฏิรูปที่ดินในพื้นที่จังหวัดตากมีเนื้อที่ 476,560 ไร (รอยละ 4.65 ของพื้นที่จังหวัด)
                       โดยอําเภอที่มีพื้นที่เขตปฏิรูปที่ดินมากที่สุด ไดแก อําเภอแมสอด อําเภอพบพระ และอําเภอวังเจา
                       ตามลําดับ (ตารางผนวกที่ 4)

                         1.8  การขึ้นทะเบียนเกษตรกร

                             จากฐานขอมูลทะเบียนเกษตรกรของกรมสงเสริมการเกษตร จังหวัดตากมีการขึ้นทะเบียน
                       เกษตรกรผูปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตวทั้งหมด ในป 2563 จํานวน 106,810 ราย รวมพื้นที่ 1,395,766 ไร
                       และกิจกรรมที่มีพื้นที่ปลูกมาก ไดแก ขาวโพดเลี้ยงสัตว ขาวนาป มันสําปะหลังโรงงาน และออย
                       โรงงาน ตามลําดับ (ตารางผนวกที่ 5)

                             ทะเบียนเกษตรพืชสมุนไพร จากฐานขอมูลกลาง (Farmer One) ของสํานักงานเศรษฐกิจ
                       การเกษตร เกษตรกรไดขึ้นทะเบียนปลูกพืชสมุนไพรในจังหวัดตาก พื้นที่ 12,020 ไร เกษตรกร 761 ราย
                       มีพืชสมุนไพรหลัก 16 ชนิด สมุนไพรที่มีการปลูกมาก ไดแก บุก และขมิ้นชั้น (ตารางผนวกที่ 6)

                         1.9  ที่ตั้งโรงงานและแหลงรับซื้อสินคาเกษตร
                             จังหวัดตากมีแหลงรับซื้อสินคาเกษตรและสหกรณการเกษตรที่สําคัญ จํานวน 51 แหง และ

                       มีโรงงานทางการเกษตร 60 แหง โดยมีโรงงานการเกษตรมากที่สุด 53 แหง (ตารางผนวกที่ 7)

                       2. การวิเคราะหพืชเศรษฐกิจหลัก

                             พืชเศรษฐกิจที่สําคัญพิจารณาจากพืชที่มีพื้นที่ปลูกมากและมีมูลคาการสงออกหรือแปรรูป
                       โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณประกาศพืชเศรษฐกิจ 13 ชนิดพืช ไดแก ขาว มันสําปะหลัง

                       ยางพารา ปาลมน้ํามัน ออยโรงงาน ขาวโพดเลี้ยงสัตว สับปะรดโรงงาน ลําไย เงาะ ทุเรียน มังคุด
                       มะพราว และกาแฟ จากพื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจดังกลาว กรมพัฒนาที่ดินไดกําหนดระดับความ
                       เหมาะสมของพื้นที่ปลูกรายจังหวัด โดยวิเคราะหจากสภาพพื้นที่ ลักษณะของดิน ปริมาณน้ําฝน
                       แหลงน้ําชลประทาน รวมกับการจัดการพื้นที่และลักษณะรายพืช โดยแบงระดับความเหมาะสม

                       เปน 4 ระดับ ไดแก
                             ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) การปลูกพืชใหผลตอบแทนสูง
                             ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) การปลูกพืชใหผลตอบแทนสูง แตพบ
                       ขอจํากัดบางประการซึ่งสามารถบริหารจัดการได

                             ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีขอจํากัดการของดินและน้ํา สงผลใหการ
                       ผลิตพืชใหผลตอบแทนต่ํา การใชพื้นที่ตองใชตนทุนสูงในการจัดการ และมีความเสี่ยงจากน้ําทวมและ
                       ขาดน้ํา
                             ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N)

                             จังหวัดตาก มีพื้นที่พืชเศรษฐกิจสําคัญที่ปลูกมาก 4 ลําดับแรก ไดแก ขาวโพดเลี้ยงสัตว
                       ขาว มันสําปะหลัง และออยโรงงาน ตามลําดับ (ตารางที่ 2)
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16