Page 12 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดตาก
P. 12

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                                5







                       ตารางที่ 2 พื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจที่มีพื้นที่ปลูกมาก 4 ลําดับแรกของจังหวัดตาก

                                พืชเศรษฐกิจ                  เนื้อที่ (ไร)     รอยละของพื้นที่เกษตรกรรม
                             1. ขาวโพดเลี้ยงสัตว            283,510                     13.06
                             2. ขาว                          231,581                     10.67

                             3. มันสําปะหลัง                  148,424                      6.84
                             4. ออยโรงงาน                     80,580                      3.71
                       ที่มา: https://agri-map-online.moac.go.th, 2564


                         2.1  ขาวโพดเลี้ยงสัตว
                                ขาวโพดเลี้ยงสัตวเปนพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัดตากที่มีการปลูกมากที่สุด จากฐานขอมูล

                       ในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online วิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 3 และภาพที่ 6 - 7)
                               1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว
                                  ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 127,467 ไร คิดเปนรอยละ 9.39 ของ
                       พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอแมสอด 82,548 ไร อําเภอพบพระ 22,505 ไร และ

                       อําเภอแมระมาด 11,947 ไร
                                  ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 624,862 ไร คิดเปนรอยละ
                       46.03 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองตาก 206,334 ไร อําเภอแมสอด
                       103,512 ไร และอําเภอแมระมาด 82,342 ไร

                                  ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 235,848 ไร คิดเปนรอยละ 17.37
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอบานตาก 51,949 ไร อําเภอสามเงา 46,677 ไร
                       และอําเภอแมสอด 45,235 ไร
                                  ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 369,358 ไร

                               2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสม
                       ของที่ดิน ไดดังนี้
                                  (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 36,654 ไร คิดเปนรอยละ 28.76 ของพื้นที่ศักยภาพสูง
                       กระจายตัวมากอยูในอําเภอแมสอด 21,368 ไร อําเภอพบพระ 9,565 ไร และอําเภอแมระมาด 3,771 ไร

                                  (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 123,366 ไร คิดเปนรอยละ 19.74 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอแมสอด 42,282 ไร อําเภอแมระมาด 24,051 ไร และ
                       อําเภอพบพระ 22,976 ไร

                                  (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 68,770 ไร คิดเปนรอยละ 29.16 ของพื้นที่
                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอแมสอด 27,856 ไร อําเภอพบพระ 17,585 ไร และ
                       อําเภอแมระมาด 12,523 ไร
                                  (4)  พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 54,720 ไร
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17