Page 33 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเชียงใหม่
P. 33

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               26







                       ความอุดมสมบูรณของดิน ความเปนกรดเปนดาง ความชื้น กระจายอยูในอําเภอแมแจม อําเภอแมอาย
                       และอําเภอเชียงดาว
                                (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนใหเขา
                       โครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกวาการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว

                       มีตนทุนที่ต่ํา และใหผลตอบแทนที่ดีกวา แตทั้งนี้ตองพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย

                         2.4  ยางพารา
                              ยางพาราเปนพืชเศรษฐกิจหลักที่สําคัญของจังหวัดเชียงใหมในลําดับที่ 4 พื้นที่ปลูกมากที่สุดอยู
                       ในพื้นที่อําเภอฝาง จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online วิเคราะหขอมูลไดดังนี้
                       (ตารางที่ 9 และภาพที่ 12 - 13)

                              1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกยางพารา
                                ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 139,677 ไร คิดเปนรอยละ 5.59 ของ
                       พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอแมอาย 55,706 ไร อําเภอฝาง 41,348 ไร และ

                       อําเภอแมแตง 10,699 ไร
                                ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 358,595 ไร คิดเปนรอยละ
                       14.34 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอพราว 67,319 ไร อําเภอฝาง 57,748 ไร
                       และอําเภอแมแตง 52,014 ไร
                                ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 614,541 ไร คิดเปนรอยละ

                       24.58 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอจอมทอง 102,745 ไร อําเภอฮอด
                       93,756 ไร และอําเภอแมแจม 69,138 ไร
                                ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 1,387,707 ไร

                              2)  การวิเคราะหพื้นที่ปลูกยางพาราในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน ไดดังนี้
                                (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 3,561 ไร คิดเปนรอยละ 2.55 ของพื้นที่ศักยภาพสูง
                       กระจายตัวมากอยูในอําเภอแมอาย 1,841 ไร อําเภอฝาง 1,670 ไร และอําเภอแมแตง 34 ไร
                                (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 20,207 ไร คิดเปนรอยละ 7.66 ของพื้นที่

                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอฝาง 2,135 ไร อําเภอพราว 1,501 ไร และอําเภอ
                       ไชยปราการ 843 ไร
                                (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 4,321 ไร คิดเปนรอยละ 0.70 ของพื้นที่ศักยภาพ
                       เล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอดอยเตา 1,942 ไร อําเภอฮอด 814 ไร และอําเภอไชยปราการ

                       425 ไร
                                (4) พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 424 ไร
                              3)  พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกมันสําปะหลังแตยังไมใชพื้นที่ปลูก
                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกมันสําปะหลัง และพื้นที่ปลูกมันสําปะหลังใน

                       ชั้นความเหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดเชียงใหมมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความ
                       เหมาะสมสูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 488,068 ไร กระจายอยูอําเภอตาง ๆ
                       โดยอําเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อําเภอฝาง 95,291 ไร รองลงมา ไดแก อําเภอพราว
                       66,622 ไร และอําเภอแมอาย 65,282 ไร โดยมีรายละเอียดดังนี้
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38