Page 30 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดกำแพงเพชร
P. 30

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               23








                             4) แนวทางการจัดการ
                               (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนให
                       เกษตรกรปลูกมันสําปะหลังตอไปเนื่องจากเปนพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิตและ
                       ไดผลผลิตที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกยางพาราในพื้นที่ดังกลาวขางตนสามารถนําไปสูการตอยอด

                       โครงการที่สําคัญตาง ๆ ได เชน ระบบสงเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ เกษตรแมนยํา เปนตน
                                 พื้นที่ปลูกยางพาราในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูกยางพาราใน
                       ที่ดินที่ไมมีขอจํากัดทางกายภาพตอการปลูกยางพาราซึ่งควรสงวนไวเปนแหลงปลูกยางพาราที่สําคัญ

                       ของจังหวัด กระจายอยูในอําเภอเมืองกําแพงเพชร อําเภอไทรงาม และอําเภอทรายทองวัฒนา
                                 พื้นที่ปลูกยางพาราในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูกยางพารา
                       ในที่ดินที่มีขอจํากัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกยางพารา เชน ความอุดมสมบูรณของดิน
                       ความเปนกรดเปนดางและแหลงน้ํา กระจายอยูในอําเภอเมืองกําแพงเพชร อําเภอคลองลาน และอําเภอ

                       ขาณุวรลักษบุรี
                               (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให
                       เขาโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกวาการปลูกยางพารา
                       มีตนทุนที่ต่ํา และใหผลตอบแทนที่ดีกวา ทั้งนี้ตองพิจารณาความตองการของตลาดและแหลงรับซื้อ

                       รวมดวย

                       3. พืชเศรษฐกิจอนาคตไกลของจังหวัด

                         3.1   กลวยไขกําแพงเพชร (GI) เปนผลไมขึ้นชื่อของจังหวัดกําแพงเพชร ลูกเล็ก เนื้อแนน ผิวตกกระ
                       หวาน กรอบ อรอยกินคูกับกระยาสารทอรอยยิ่งนัก ลักษณะเดนของกลวยไขพันธุพื้นเมืองกําแพงเพชร คือ
                       เนื้อแนน เปลือกบาง รสชาติหวาน นิยมรับประทานกับกระยาสารทเกษตรกรผูปลูกกลวยไขจะปลูก

                       กลวยไขในชวงประมาณเดือน สิงหาคม-กันยายน หากจะลาชาออกไปก็จะไมเกินเดือนตุลาคม
                       เนื่องจากตองอาศัยน้ําฝน  เพื่อใหกลวยเจริญเติบโต และหลีกเลี่ยงไมใหกลวยไข ตกเครือในชวงฤดูแลง
                       จะทําใหกลวยผลเล็ก ถูกแสงแดดเผามาก คุณภาพเสียหาย การเก็บเกี่ยวปกติหลังจากตัดปลีแลว

                       ประมาณ 45 วัน เปนเวลาที่เหมาะสมในการเก็บเกี่ยว ปลูกมากที่อําเภอเมืองกําแพงเพชร รองลงมา
                       คือ คลองขลุง พรานกระตาย คลองลาน โกสัมพีนคร บึงสามัคคี ปางศิลาทอง ขาณุวรลักษบุรี ลานกระบือ
                       และทรายทองวัฒนา ตามลําดับ ในสวนของพื้นที่การปลูกกลวยไขลดลง จากการประสบปญหาภัยแลง
                       และลมพัดตนกลวยไขหักเสียหาย ตนกลวยไขใหผลผลิตปละครั้ง หากเสียหายจะทําใหเกษตรกรขาดทุน

                       และหันไปปลูกพืชอื่นทดแทน ทางจังหวัดกําแพงเพชร จึงตองไดมีการรณรงคในการปลูกกลวยไข

                         3.2  สละ เปนพืชที่สามารถปลูกไดดีเกือบทุกพื้นที่ แตพื้นที่ที่เหมาะสมควรมีความลาดเอียง
                       ไมเกินรอยละ 15 ไมมีน้ําทวมขัง ลักษณะดินควรเปนดินรวนปนทรํายหรือดินรวนปนเหนียวที่มีความอุดม
                       สมบูรณสูง ระบายน้ําดี สละในจังหวัดกําแพงเพชร ใหผลผลิตดก รสชาติดี ไมตางจากสละทางภาคใต
                       เลยทีเดียว ทดลองปลูกที่ตําบลทาพุทรา อําเภอคลองขลุง จังหวัดกําแพงเพชร

                         3.3  องุนไรเมล็ด ลักษณะของ องุนไรเมล็ด ปจจุบันมีพันธุที่สงเสริมใหเกษตรกรปลูกใน

                       กําแพงเพชร คือ พันธุบิวตี้ ซีดเลส เปนองุนชนิดไมมีเมล็ด ผลกลมมีสีดํา ขนาดผลเสนผาศูนยกลางประมาณ
                       1 เซนติเมตร เปลือกผลหนา รสชาติหวานอรอย อายุตั้งแต ตัดแตงกิ่งจนถึงเก็บเกี่ยวประมาณ 5-6 เดือน
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35