Page 32 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดกำแพงเพชร
P. 32

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               25








                       4  แนวทางการสงเสริมการปลูกพืชเศรษฐกิจ

                         4.1  ขาว
                             1) พื้นที่ปลูกขาวที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกขาวอยู มีเนื้อที่

                       1,077,142 ไร กระจายตัวอยูในทุกอําเภอของจังหวัดกําแพงเพชร ทั้งนี้ คณะอนุกรรมการพัฒนาที่ดิน
                       จังหวัดสมควรใหมีการเสนอแผนการใชที่ดินเพื่อสงวนใหเปนแหลงผลิตขาวที่สําคัญของจังหวัด และมี

                       การบริหารจัดการน้ําชลประทาน การจัดการดิน ปุย พันธุขาว โดยรวมกลุมเปนเกษตรแปลงใหญ
                       พัฒนาตอยอดครบวงจรการตลาดในและตางประเทศการแปรรูป แหลงทุน มีภาครัฐสนับสนุนการทํา

                       มาตรฐานสินคาเกษตรอินทรีย และการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices :
                       GAP) และเนื่องจากเปนพื้นที่ศักยภาพสูง การปลูกพืชหลังนาจะชวยใหเกษตรกรมีรายไดเพิ่มขึ้น และ
                       เปนการปรับปรุงบํารุงดิน

                             2) พื้นที่ปลูกขาวที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกขาวอยู มีเนื้อที่
                       มากถึง 170,327 ไร กระจายตัวอยูในอําเภอขาณุวรลักษบุรี อําเภอเมืองกําแพงเพชร อําเภอพราน

                       กระตาย  อําเภอคลองขลุง อําเภอปางศิลาทอง อําเภอไทรงาม อําเภอคลองลาน อําเภอลานกระบือ
                       อําเภอบึงสามัคคี อําเภอโกสัมพีนคร และอําเภอทรายทองวัฒนา  เปนพื้นที่ปลูกขาวที่มีขอจํากัดไม

                       มากนัก เกษตรกรยังคงปลูกขาวไดผลดี หลายแหงประสบปญหาขาดน้ําในบางชวงของการเพาะปลูก
                       ควรสนับสนุนดานการบริหารจัดการน้ํา เชน ชลประทาน จะสรางความมั่นใจใหกับเกษตรกรในการใช

                       ที่ดิน ปญหาการทิ้งถิ่นฐานไปทํางานที่อื่นจะลดลง และพื้นที่ในเขตนี้มีความเหมาะสมสําหรับ
                       การเกษตรแบบผสมผสาน เกษตรแมนยําหรือเกษตรทฤษฎีใหม เปนตน และภาครัฐควรใหความรู
                       ความเขาใจกับเกษตรกรโดยแนะนําวาไมควรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่น หากขาวราคาไมดีและ

                       ตองการปรับเลี่ยนการผลิตควรเปนพืชไร เพื่อที่วาในอนาคตยังสามารถกลับมาทํานาไดอีก
                             3) พื้นที่ปลูกขาวที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบันเกษตรกรยังคงใชที่ดิน

                       ปลูกขาวอยู มีประมาณ 64,831 ไร ซึ่งประสบปญหาซ้ําซากน้ําทวม ขาดน้ํา ผลผลิตต่ํา กระทรวง
                       เกษตรและสหกรณใหการชวยเหลือเกษตรกรที่ทํากินในพื้นที่นี้ เนื่องจากเปนพื้นที่ไมเหมาะสม โดย

                       สนับสนุนการปรับโครงสรางที่ดิน ปรับปรุงบํารุงดิน สนับสนุนแหลงน้ํา ใหเกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิด
                       ใหมที่มีความเหมาะสม และใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตอาหารเพื่อบริโภคในครัวเรือน

                       หรือเขาโครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) เปนตน
                             4) พื้นที่ที่มีศักยภาพ หรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกขาว แตปจจุบันเกษตรกรไมได
                       ใชพื้นที่ปลูกขาว โดยมาปลูกพืชชนิดอื่นทดแทน ทั้งนี้หากพืชที่ปลูกเปนพืชไร เชน ออยโรงงาน

                       มันสําปะหลัง ขาวโพดเลี้ยงสัตว เปนตน ในอนาคตขาวราคาดี เกษตรกรอาจกลับมาปลูกขาวได
                       เหมือนเดิม แตหากเปนไมผลหรือไมยืนตน การกลับมาปลูกขาวอาจเปนเรื่องยาก ดังนั้นอาจสงเสริม

                       ในเรื่องของการทําเกษตรรูปแบบอื่น เชน เกษตรผสมผสาน
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37