Page 33 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดกำแพงเพชร
P. 33

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               26








                         4.2  ออยโรงงาน
                             1) พื้นที่ปลูกออยโรงงานที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกออยโรงงานอยู
                       มีเนื้อที่ 298,101 ไร กระจายตัวอยูในอําเภอขาณุวรลักษบุรี อําเภอเมืองกําแพงเพชร อําเภอ

                       พรานกระตาย  อําเภอคลองขลุง อําเภอปางศิลาทอง อําเภอไทรงาม อําเภอคลองลาน อําเภอลานกระบือ
                       อําเภอบึงสามัคคี และอําเภอทรายทองวัฒนา ตามแผนยุทธศาสตร สํานักงานคณะกรรมการออย

                       และน้ําตาลทราย พ.ศ. 2560-2564 มียุทธศาสตร สงเสริม สนับสนุนการวิจัย การบริหารจัดการ และการ
                       เพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตอุตสาหกรรม ออยน้ําตาลทราย และอุตสาหกรรม เนนใหมีการเพิ่ม

                       ผลผลิตออยโรงงานในพื้นที่ที่มีศักยภาพสูง แตเนนการลดตนทุนผลผลิต ทั้งนี้ควรสงเสริมใหเกษตรกร
                       ใชปุยอินทรียแบบคุณภาพสูง มีการเก็บเกี่ยวผลผลิตโดยการรณรงคลดการเผาตอซังเพื่อเพิ่มผลผลิต

                       และลดปญหาภาวะโลกรอนหนวยงานที่เกี่ยวของคิดคนเทคโนโลยีการเก็บเกี่ยวโดยใชเครื่องจักรเพื่อ
                       ลดปญหาแรงงาน สงเสริมใหเกษตรกรรวมกลุมและเขารวมโครงการเกษตรแปลงใหญ จัดหาปจจัย
                       การผลิตใหกับเกษตรกร และอบรมใหความรูแกเกษตรกรที่มีการปรับปรุงบํารุงดินโดยลดตนทุนการ

                       ผลิต สงเสริมใหมีการปลูกออยโรงงานที่มีสายพันธุตานทานโรค สรางความตระหนักและความรูความ
                       เขาใจใหกับเกษตรกรที่มีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง ในการปลูกออยโรงงาน เพื่อแกไขปญหาการ

                       ปรับเปลี่ยนพื้นที่
                              2) พื้นที่ปลูกออยโรงงานที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกออยโรงงาน

                       อยู มีเนื้อที่ 419,887 ไร กระจายตัวอยูในทุกอําเภอของจังหวัดกําแพงเพชร เกษตรกรยังคงปลูกออย
                       โรงงานไดผลดี หลายแหงประสบปญหาขาดน้ําในบางชวงของการเพาะปลูกดังนั้นควรมีการพัฒนา

                       ศักยภาพของพื้นที่ใหมากขึ้น ในเรื่องของคุณภาพดิน และ การบริหารจัดการน้ํา ใหมีเพียงพอและ
                       เหมาะสมตอการเพาะปลูก สรางความรูความเขาใจใหกับเกษตรกรในการจัดการพื้นที่ การปลูก
                       การดูแลรักษา และการเก็บเกี่ยว สงเสริมการเพิ่มมูลคาของเสียจากโรงงานน้ําตาล และการนําของเสียจาก

                       โรงงานน้ําตาลไปใชในการปรับปรุงบํารุงดินในไรออย เพื่อเพิ่มผลผลิตและลดตนทุนใหแกเกษตรกร
                       ชาวไรออยโดยไมมีผลเสียตอสุขภาพ สิ่งแวดลอม และชุมชนชาวไรออย

                             3) พื้นที่ปลูกออยโรงงานในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบันเกษตรกร
                       ยังคงใชที่ดินปลูกออยโรงงานอยู พื้นที่ดังกลาวประสบปญหาซ้ําซาก เชน น้ําทวม ขาดน้ํา ผลผลิตต่ํา

                       ดังนั้นควรใหการชวยเหลือเกษตรกรที่เลือกปลูกพืชชนิดใหมที่ใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตพืชผัก
                       บริโภคในครัวเรือน หรือเขาโครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) เปนตน

                       ทั้งนี้ควรจัดหาตลาดใหกับเกษตรกรในการปลูกพืชผักทดแทน โดยอาจเริ่มจากตลาดชุมชน
                             4) พื้นที่ที่มีศักยภาพ หรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกออยโรงงานแตเกษตรกร
                       หันมาปลูกพืชอื่นทดแทน เชน ปาลมน้ํามัน มะพราว ไมผล ไมยืนตน มันสําปะหลัง หรือพืชไรอื่น ๆ

                       ควรสรางความเขาใจใหกับเกษตรกรในการบริหารจัดการพื้นที่ และการปรับปรุงบํารุงดินไมใหเสื่อมโทรม
                       หากเกษตรกรตองการกลับมาใชพื้นที่ปลูกออยโรงงานเหมือนเดิม จะไดไมตองมีตนทุนการผลิตสูงใน

                       การปรับปรุงบํารุงดิน
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38