Page 26 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดกำแพงเพชร
P. 26

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               19








                         2.4  ยางพารา
                             ยางพาราพืชเศรษฐกิจหลักของกําแพงเพชรในลําดับที่ 4 จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก
                       หรือ Agri-Map Online วิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 9 และภาพที่ 12 – 13)
                                1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกยางพารา

                                    ระดับที่ 1 เปนพื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 477,827 ไร คิดเปนรอยละ 12.63 ของ
                       พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอไทรงาม 99,106 ไร อําเภอเมืองกําแพงเพชร
                       93,574 ไร และอําเภอลานกระบือ 72,296 ไร
                                    ระดับที่ 2 เปนพื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อ 982,159 ไร คิดเปนรอยละ 25.95

                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากในอําเภอเมืองกําแพงเพชร 242,218 ไร อําเภอขาณุวรลักษบุรี
                       226,922 ไร และอําเภอคลองขลุง 967ไร
                                    ระดับที่ 3 เปนพื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 547,309 ไร คิดเปนรอยละ 14.46 ของ
                       พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอขาณุวรลักษบุรี 147,671 ไร อําเภอเมืองกําแพงเพชร

                       114,565 ไร และอําเภอพรานกระตาย 73,440 ไร
                                    ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 1,776,870 ไร
                                2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกยางพาราในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน

                       ไดดังนี้
                                    (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 4,687 ไร คิดเปนรอยละ 0.98 ของพื้นที่ศักยภาพสูง
                       กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองกําแพงเพชร 1,418 ไร อําเภอไทรงาม 1,328 ไร และอําเภอ
                       ทรายทองวัฒนา 967ไร
                                    (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 42,468 ไร คิดเปนรอยละ 4.32 ของพื้นที่พื้นที่

                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองกําแพงเพชร 14,280 ไร อําเภอคลองลาน 8,564 ไร
                       และอําเภอขาณุวรลักษบุรี 7,914 ไร
                                    (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 4,065 ไร คิดเปนรอยละ 0.74 ของพื้นที่ศักยภาพ

                       เล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองกําแพงเพชร 1,660 ไร อําเภอพรานกระตาย 920 ไร และอําเภอ
                       ขาณุวรลักษบุรี 457 ไร
                                    (4) พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 111 ไร
                                3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกยางพาราแตไมใชพื้นที่ปลูก

                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกยางพารา และพื้นที่ปลูกยางพาราใน
                       ชั้นความเหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดกําแพงเพชรมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับ
                       ความเหมาะสมสูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 1,412,831 ไร โดยกระจายอยู
                       ทั่วทุกอําเภอ โดยอําเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อําเภอเมืองกําแพงเพชร 320,094 ไร

                       รองลงมา ไดแก อําเภอขาณุวรลักษบุรี 237,980 ไร อําเภอคลองขลุง 154,259 ไร และอําเภอไทรงาม
                       133,628 ไร โดยมีรายละเอียดดังนี้
                                      (1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 473,140 ไร คิดเปนรอยละ 99.02 ของ
                       พื้นที่เหมาะสมสูง พบมากในอําเภอไทรงาม 97,778 ไร อําเภอเมืองกําแพงเพชร 92,156 ไร และ

                       อําเภอลานกระบือ 72,134 ไร
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31