Page 9 - การจัดการวัสดุทางปาล์มที่เหมาะสมรอบทรงพุ่มต่อการเพิ่มอินทรียวัตถุและธาตุอาหารในดินเพื่อปลูกปาล์มน้ำมันในชุดดินระแงะ Suitable management of pilesing leaves in canopy to increase organic matter and nutrition for oil palm plantation in Rangae series.
P. 9
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
8
ที่มา (กรมพัฒนาที่ดิน, 2551)
ถาดินมีปริมาณอินทรียวัตถุต่ำถึงต่ำมาก คือต่ำกวา 0.5 และ 0.5 – 1.0 เปอรเซ็นต ตอง
เพิ่มอินทรียวัตถุลงไปในดินจำนวนมาก ถาดินมีอินทรียวัตถุตั้งแต 1.0 – 2.0 เปอรเซ็นต ดินมีอินทรียวัตถุ
ปานกลาง ควรเพิ่มอินทรียวัตถุลงไปในดินบาง ถาดินมีอินทรียวัตถุอยูในระดับ 3 – 5 เปอรเซ็นต
ไมจำเปนตองเพิ่มอินทรียวัตถุลงไปในดิน
ประโยชนของอินทรียวัตถุในดิน
อินทรียวัตถุในดิน มีอิทธิพลตอสมบัติทางดานกายภาพ เคมี และชีวภาพของดิน ซึ่ง
สามารถสรุปไดดังตอไปนี้
1. สมบัติทางดานกายภาพของดิน
1.1 สีของดิน อินทรียวัตถุทำใหดินเปลี่ยนเปนสีน้ำตาลจนถึงสีดำ เนื่องจากฮิวมัสที่ไดจะ
มีสีน้ำตาลเขม มีขนาดของอนุภาคละเอียดมีพื้นที่ผิวจำนวนมากสามารถคลุกเคลากับ
สวนตางของดินไดดี
1.2 อินทรียวัตถุชวยใหอนุภาคของดินจับตัวกันเปนกอน ทำใหดินมีโครงสรางที่ดีขึ้น มี
การถายเทอากาศไดดีมีการระบายน้ำไดดีทำใหดินมีความชุมชื้น
1.3 อินทรียวัตถุในดิน มีพื้นที่ผิวมากทำใหดินมีความสามารถในการอุมน้ำไดดีขึ้น
2. สมบัติทางดานเคมีของดิน
2.1 อินทรียวัตถุเปนแหลงใหธาตุไนโตรเจนฟอสฟอรัสและกำมะถันซึ่งเกิดจากปฎิกิริยา
มิเนรัลไลเซชัน(mineralization)ซึ่งจะปลดปลอยธาตุดังกลาวออกมาอยางชาๆ ซึ่งปริมาณธาตุไนโตรเจน
ทั้งหมดขึ้นอยูปริมาณอินทรียวัตถุที่อยูในดิน
2.2 อินทรียวัตถุในดินมีความสามารถดูดซับแคตไอออน (cation) ไดดี เนื่องจาก
อินทรียวัตถุมีสารประกอบจำพวก คารบอซิลิก (carboxylic group ; COOH) และหมูฟนอลิก(phenolic
group ; OH)เมื่อสารประกอบดังกลาวแตกตัวจะไดประจุลบ แคตไอออนที่อยูในดินสามารถรวมกับ
สารประกอบดังกลาวไดทำใหธาตุอาหารที่เปนไอออนบวก โดยเฉพาะธาตุอาหารเสริมไมสูญเสียไปกับการ
ชะลาง
2.3 อินทรียวัตถุในดิน จะชวยลดการตรึงฟอสฟอรัสของดินที่มีเหล็ก และอลูมินัมอยูมาก
และลดความเปนพิษของโลหะดังกลาว เนื่องจากอินทรียวัตถุมีสารประกอบจำพวกคารบอซิลิก
(carboxylicgroup ; COOH) และหมูฟนอลิก (phenolic group ; OH) ซึ่งสามารถเกิดสารประกอบ
เชิงซอนที่ไมละลายน้ำกับพวกโลหะ (เหล็ก อลูมินัม และแมงกานีส) แทนฟอสฟอรัส
2.4 ชวยเพิ่มความตานทานการเปลี่ยนแปลงความเปนกรดเปนดางของดิน (buffer
capacity)เนื่องจากอินทรียวัตถุในดินมีจำนวนประจุลบอยูเปนจำนวนมากสามารถจะดูดซับไอออนบวกได
เปนปริมาณมากดวย ดังนั้นดินที่มีอินทรียวัตถุสูงสามารถตานทานตอการเปลี่ยนแปลงพีเอช (pH) ไดดี
3. สมบัติทางชีวภาพของดิน
3.1 อินทรียวัตถุในดิน จะเปนแหลงอาหารที่สำคัญสำหรับจุลินทรียในดินให
จุลินทรียในดินสามารถทำกิจกรรมตาง ๆไดดีขึ้น
3.2 ชวยยับยั้งการเจริญและความสามารถในการกอใหเกิดโรคพืชของเชื้อโรค เนื่องจาก
สารปฎิชีวนะที่ขับออกมาจากเชื้อจุลินทรียบางชนิดการเกิดการแขงขันกันระหวางจุลินทรียดินกับจุลินทรีย
ที่กอใหเกิดโรค และการที่จุลินทรียดินเปนศัตรูกับเชื้อโรคพืช